Wellcome to EBM group

ยินดีต้อนรับน้องๆทุกคนค่ะ ขอให้มีความสุขและสนุกกับการเรียนEvidence Based Medicine ของภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชนโรงพยาบาลหาดใหญ่


Staffs


30/07/2008

กลุ่มเทพาขอเปลี่ยน journal ค่ะ

เนื่องด้วย paper อันเก่าไม่สามารถนำมา คิดค่ะ stat ได้ จึงขอเปลี่ยนค่ะ
question : ultrasound สามารถนำมาใช้ในการวินิจฉัย VUR ได้หรือไม่
P: A 4 years old boy
I : renal ultrasound
C : VCUG
O :VUR
แนวทางการค้นหาข้อมูล
-web-base resources ที่เลือกใช้ ได้แก่ Pubmed clinical Queries
-คำหรือรูปแบบที่ใช้ในการค้นหา ได้แก่ VUR เลือกประเภท diagnosis
-จำนวน Article ที่เกี่ยวข้องที่ปรากฏ:42
-Limits :link to free full text,human,English,published in 10 years,10 years
-ชื่อ Article ที่เลือกอ่านเพื่อตอบปัญหาทางคลินิก: Urinary tract infection: is there a need for routine renal ultrasonography?
-ชื่อเรื่อง: Urinary tract infection: is there a need for routine renal ultrasonography?
-ชื่อผู้แต่ง:Zamir G, Sakran W, Horowitz Y, Koren A, Miron D.
-ชื่อวารสาร:Arch Dis Child. 2004 May;89(5):466-8.
-ปีที่พิมพ์:2004 May;89(5):466-8.
ได้ส่ง paper ไปให้ อาจารย์หทัยทิพย์,ซัลมา,จุรีรัตน์,ธนวรรณแล้วค่ะ

28/07/2008

ทักทายจากพี่ปุ๊ก

สวัสดีค่ะ น้องๆทุกคน
พี่เพิ่งกลับมาจากไปประชุมวันนี้เอง ไปนานไปหน่อย 2 สัปดาห์ ก็เลยไม่ได้แวะเข้ามาตอบคำถามน้องๆ
ดูเหมือนจะมีความสุขกันดีและประสบการณ์เต็มอิ่ม(ท้อง) กันทุกๆ ที่เลยนะคะ
ฟังข่าวจากอาจารย์ที่ลงไปเยี่ยมพวกเราวันศุกร์ ก็รู้สึกว่าพวกเราคงได้รับประสบการณ์กันมากมาย แล้วก็อย่าลืมขนกลับมาด้วยล่ะ
ตอบคำภามเกี่ยวกับ EBM
  1. assignment 3 ก็คือ group presentation critical reading ของแต่ละกลุ่มค่ะ หวังว่าทุกกลุ่มคงทำกันไปบ้างแล้ว ถ้ายังละก็ต้องรีบแล้วค่ะคงยังไม่สายเกินไปนะคะ

5 สิงหาคม 2551, 13.00-16.00 น (180 นาที)

2 รูปแบบนำเสนอก็ตามแต่จะ ออกแบบค่ะ อาจดูตัวอย่างใน sheet หรือเพิ่มเติมบางหัวข้อไปได้ค่ะ ให้สุดความสามารถเกี่ยวกับความรู้ EBM ที่มี ระยะเวลานำเสนอ ให้เอา 180/4 = 45 นาที ต่อกลุ่มค่ะ (รวม discussion 10 นาที) คะแนน 5% ค่ะ

3 แบบประเมินการนำเสนอ Assignment III: Critical Appraisal (5%) ดูในคู่มือค่ะ

สุดท้ายนี้ขอให้มีความสุขกับชีวิตที่ ร.พ.ช. นะคะ รักษาสุขภาพและระวังตัวกันทุกคนนะคะ

พี่ปุ๊ก

25/07/2008

พี่ติ๊กประชาสัมพันธ์

ไม่รู้ข่าวดีหรือเปล่า...ฮิฮิ

วันศุกร์ที่ 8 สิงหาคมนี้ 18.00 น.

อ.จรัสกิจ จะขอนัดนักศึกษาที่ต้องใช้ทุนในจังหวัดสงขลา
พบปะสังสรรค์กับพี่ๆ หมอจาก รพ.ชุมชน และ สสจ.สงขลา
เพื่อทำความรู้จักและสร้างความสัมพันธ์อันดี
เผื่อเวลาไปทำงานมีปัญหาจะได้ช่วยเหลือกันได้

ปล.น้องๆ จังหวัดอื่น ก็เข้าร่วมได้นะ อ.จรัสกิจคงนัดแนะอีกที

จาก...นอมินีพี่ติ๊ก

อาจารย์ & พี่เอียด เยี่ยมบ้าน AF เจ้าคะ

มื้อเที่ยง...เลี้ยง"หลานตาชู"

หรอย มั่กๆ...




ชั้นปีเดียวกัน...

(ปินปิน มีข่าวดีมาบอก อาจารย์พี่โต๊ะ รหัส 11 จ้า)

นี่ก็รุ่นราวคราวเดียว หุหุหุ..

อ๊ะ!! ... แล้วนี่ลูกครายเน้!!!


ขอขอบพระคุณอาจารย์ และพี่เอียดเป็นอย่างสูงที่ให้เกียรติเยี่ยมความเป็นอยู่ของบ้าน AF ในขณะปฏิบัติภาระกิจในพื้นที่ในครั้งนี้คะ

นู๋ไผ่ ผู้ยิ่งใหญ่แห่งสะบ้าย้อย อาจารย์ปล่อยข่าวว่าน้องไผ่จาไปญี่ปุ่น อย่าลืมของฝากนะจ๊ะ หุหุหุ
เพื่อนๆ กลุ่มอื่นเป็นยังไงกานบ้างซำบายดีบ่ หลบระเบิดกลับมาเจอกันให้ได้นะ 5555+++

23/07/2008

EBM กลุ่มโหนดเนะเจ้าค่า

ต้องขออภัยเป็นอย่างสูงนะเจ้าค่ะ คือว่าด้วยเนตที่ช้ามากกกกกก จนไม่สามารถส่งไฟล์ได้ ต้องใช้พยายามหลายครั้งในที่สุดก้อได้ซักที....

กลุ่มควนขนุน ส่งให้อลิสรากับจุรีรัตน์
กลุ่มจะนะส่งให้ธนิตากับธนวรรณ
กลุ่มเทพาส่งให้พัชรินทร์กับสุพรรษาจ้า

ถ้ากลุ่มไหนยังไม่ได้รับโปรดแจ้งข่าวนะเจ้าค่ะ

ถึงกลุ่มรักเทพา

ศุกร์นี้พี่ไปถึงประมาณ10โมง

ช่วง10โมงถึงเที่ยงจะประเมินการปฏิบัติงาน


ช่วงบ่ายconferenceถึงบ่าย3ครับ
มีปัญหาอะไรโทรมาคุยกันได้นะครับ 0897343445

















ปล.supansaดูรูปของกินไปก่อนนะ

เยี่ยมนศพ.

ส่วนกลุ่มโหนดเน๊ะอาจารย์พี่ติ๊กพรหมศิริจะไปถึงประมาณ10โมงครึ่งเช่นกัน

สิ่งที่ประเมินเหมือนกันทุกกลุ่มคือการนำหลักวิชาเวชศาสตร์ครอบครัวไปใช้และสิ่งที่น้องsign learning contractไว้ครับ

22/07/2008

ตอบน้องnattarika

ควนขนุนอาจารย์พี่โต๊ะจะไปเยี่ยม
ถึงโรงพยาบาลประมาณ10.30น.

เยี่ยมนศพ.

สวัสดีค่ะอาจารย์

วันศุกร์นี้อาจารย์จะมากี่โมงคะ? พอดีว่าตอนเช้าที่นี่(ควนขนุน)มีโปรแกรมว่าจะไปออกตรวจสุขภาพเด็กที่โรงเรียนค่ะ ช่วยตอบด้วยนะคะ ขอบคุณค่ะ

21/07/2008

ติดตามสถานการณ์บ้าน AF อย่างใกล้ชิด

มาดูชิวิตสมาชิกบ้าน AF กับบรรยากาศดีๆที่ควนหนุน กันดีกว่า...

ทายกันดีกว่าว่านี้คือผู้ใด....

หุหุ... หยิน..กะ...
หยิน กะ เบิ้ม ... เบิ้ม กะ หยิน
5 สาว เหอๆๆๆๆๆๆ


สมาชิกบ้าน AF ควนหนุน
หยินV1,ปอยV2,แพรV3,ฝนV4,เมย์V5,เบิ้มV6 and หนึ่งV7
ติดตามและส่งผลโหวดกันได้ที่ 086-2677925
และติดตามชมการแสดงโจ๋โจ๋ซัง เร็วๆนี้
ซื้อบัตรชมการแสดงได้ที่ สอ.,PCU.,CMU. ทั่วประเทศ

20/07/2008

กลุ่มโหนดเน๊ะรายงานตัวจ้า

สวัสดีเพื่อนๆทุกคน
โหนดเน๊ะหายไปหลายวันไม่ต้องเป็นห่วงหรือนคิดถึงให้มากไปนะจ๊ะ
วันนี้ขอโชว์บรรยากาศ และความเป็นอยูที่ระโนดนะ

สภาพหลังอาหาร



ทานอาหารพร้อมหน้าพร้อมตา







อาหารเย็นมื้อใหญ่






บรรยากาศภายในโรงพยาบาล



อาหารเช้ามื้อแรก







































น้องหนุนๆ ขอแจม

เพื่อนๆ ระในเขตพื้นที่สีแดงระวังตัวกานดีๆ เน้อ

เราก็สงสัยเรื่องเหมือนกะกลุ่มสโนว์ไวท์ทั้ง 7 อ่า ใครรู้ช่วยตอบบนบอร์ดด้วยนะ

18/07/2008




ทรายบอกว่า ลองกองหรอยหนัด

EBM

เจินส่งJournal ไปให้แล้วนะ
กลุ่มควนขนุน ส่งให้ เจ้าเขียดน้อย
กลุ่มจะนะส่งให้ทราย
กลุ่มระโนดส่งให้ซัลมา
และส่งให้อาจารย์หทัยทิพย์แล้วด้วยค่ะ
ปล.เค้าก็ส่งเมลล์เป็นนะเพื่อนๆ 555

17/07/2008

เด็กมีปัญหา

เรียนอาจารย์และพี่น้องทุกท่าน...

ข้าพเจ้าในฐานะตัวแทนกลุ่มรักเทพา..และในฐานะโฆษกรักเทพา...ครบ 3 วันแล้วที่เราร่วมปฏิบัติการปังคุงที่เทพากันมา...เราตระหนักได้แล้วว่า เราจะยุติ..หยุด..(เกียจคร้าน..เพราะมันหอยหรอดจริงๆ) เพื่อเป็นการเฉลิมฉลอง...และเป็นการสำนึกรักบ้านเกิด... เราขอประกาศว่า กลุ่มใดที่ยังไม่หยุดกระทำการเยี่ยงเรา...เราจะถือว่าทำผิดทางกฎหมาย และเราจะกำจัด(จุดอ่อน)...ประกาศทราบโดยทั่วกัน และขอให้ถือปฏิบัติ


หอยหรอด...เถอะค่ะเพื่อนๆ ในฐานะตัวจริงแฟนพันธุ์แท้ ในดินแดนเสี่ยง(รัก) วันที่ 15 กค. มันยังวางระเบิดปลอมหลอกที่โรงเรียนบ้านเทพาอยู่เลยคะ...ซึ่งโรงเรียนแห่งนั้นก็อยู่แค่ๆ (ใกล้) กับอนามัยที่เจน่า กับ เอมิน่า (ต้องออกเสียงให้ฝรั่งๆ นะคะ)ระยะทางใกล้ ได้อิ๊ก (ออกเสียงแบบพี่ตั๊ก)....ใกล้ขนาดข้าพเจ้าวิ่งไปกลับสัก 100รอบ (เลียนแบบ100 ปี) ได้สบายๆ เลยค่ะ แต่เอาเหอะ ถ้าหยุดจริงก้ถือว่าดีไป...


พี่พิมพ์มามิใช่งานการ (สาระ) ที่อยากจะถามเลยค่ะ...


คำถาม ???????????????????????????????
1 ต้องส่งรายงานเยี่ยมบ้าน 2 ฉบับต่อกลุ่ม ใช่หรือไม่...
2.เราต้องส่งรายงานปฏิบัติการที่โรงพยาบาลชุมชนรึเปล่าคะ...(คู่มือบอกว่ามีแต้มสะสม 10%)
3.พรีเซนต์ แบบไหน(งงหัวข้อ เนื้อหาและรูปแบบการนำเสนอค่ะ)...แล้ว case conference คืออะไรคะ....
4. ebm assignment 3 เริ่มทำappraisal เลยรึเปล่าคะ (ต้องอ่านของเพื่อนมาวิจารณ์มั๊ยคะ)
5.ไม่ทราบว่าได้รับfile paperของกลุ่มเทพา เรื่องassignment 2 รึยังคะ

ไร้สาระอีกรอบ....>>>>>> ใครที่เป็นห่วงกลัวว่า สโนไวท์ทั้ง 7 จะโดยกับระเบิด..ก็ขอให้ไม่ต้องกังวลนะคะ...โจรไม่สามารถใช้มือถือวางระเบิดได้ค่ะ...ที่นี่ไร้สัญญาณอย่างแรง.....ย้ำอย่างแรง....


ฝากถึงอ.กรกช ค่ะ...หนูมาอยู่ที่นี่ปากหม้ออร่อยมากๆ โรตีอร่อยสุดๆ แต่ก็ไม่มี kfc pizza cake fuji sizzler หนูคิดถึงพวกเค้ามากๆ เลยค่ะ....

16/07/2008

รูปจากจะนะ นะจ้ะ


อาหารมาแว้วววว


หน้าโรงครัว ที่ประทังชีวิตของพวกเรา อิ่มหนำทุกวัน


กลุ่มจะนะ นะจ๊ะ ไปเยี่ยมบ้านมาค่ะ ประทับใจมั่กๆ
แถมอิ่มหนำสำราญด้วย ไว้จะกลับมาโม้นะจ้ะ

15/07/2008

Paperให้เพื่อนๆของกลุ่มจะนะ นะจ๊ะ episodeII

paper EBM ส่งให้เพื่อนๆแล้วนะคะ
รพ.ควนขนุน ส่งให้น้องเขียด กับ ลิซซี่
รพ.ระโนด ส่งให้ซัลมากับยียี่
รพ.เทพา ส่งให้ฟักแฟงกับน้องฉอก นะจ้ะ
ตอนนี้จะนะเหตุการณ์สงบสุขดีค่ะ เพื่อนๆที่อื่นเป็นงัยบ้าง
ได้ข่าวว่าเทพามีระเบิด เพื่อนๆระวังตัว อย่าออกไปเที่ยวไหนนะ
สาวๆจากจะนะฝากความห่วงใยมาให้
อาจารย์คะ solomon สุดยอดช้ามากกกกกเลยค่ะ
นั่งโหลดเวบนานมากเข้าblogไม่ได้เลย ก้อเลยมาเล่นhigh speed ที่OPD แทน

FilE : EBM กลุ่มควนขนุน คะ

ส่งให้อาจารย์หทัยทิพย์
กลุ่มระโนด ส่งให้ซัลมา
กลุ่มจะนะ ส่งให้ปินปิน
กลุ่มเทพา ส่งให้เจิน
เปิดเมลล์แล้ว Download เองนะคะ
แต๊งกิ้ว...^^ น้า

11/07/2008

Assignment 2: Therapy

สมาชิกกลุ่ม ร.พ.ควนขนุน
1. นศพ.กุลธิดา เหลืองวัฒนพงศ์
2. นศพ.คณิน คะนึงวนิชกุล
3. นศพ.จุรีรัตน์ จันทรัตน์
4. นศพ.ณัฐริกา เทพลิบ
5.นศพ.รติกร สมรักษ์
6. นศพ.วรารักษ์ วิจะสิกะ
7. นศพ.อลิสรา หวังภัทราวานิช

ผู้ป่วยชาย อายุ 16 ปี
CC: F/U อาการ asthma ตามนัด
PI: ผู้ป่วยชาย อายุ 16 ปี ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็น mild persistent asthma มา 7 ปี มีอาการหายใจลำบาก สังเกตว่า จะมีอาการเมื่ออยู่ในสถานที่ที่มีฝุ่นมาก ได้รับยา Salbutalmol พ่นเวลามีอาการมาตลอด หลังจากนั้นไม่ได้มาพบแพทย์อีก
4 เดือน PTA ผู้ป่วยมีอาการมากขึ้นและต้องการทราบว่า ตนเองแพ้อะไร จึงมาพบแพทย์ที่โรงพยาบาล ผู้ป่วยได้ทำ skin test พบว่า แพ้เกสรดอกไม้ และ ไรฝุ่น ผู้ป่วยจึงได้รับยา budesonide (500microgram/dose) และได้ใช้ยาต่อเนื่อง แพทย์ได้นัด follow up ทุก 3 เดือน ปัจจุบันมีอาการเพียง นานๆ ครั้ง
PH: No food and drug allergy
No family history of asthma
PE: GA- A Thai male good consciousness, look fine, well cooperate
HEENT- No icteric sclera, not pale conjunctiva
Heart- Normal S1 S2 , No murmur
Lung- Clear both lung, no wheezing
Abdomen- Soft, not tender, no guarding, normoactive bowel sound

Patient: 16 yr old mild persistent asthmatic patient
Intervention: Budesonide
Comparison: Budesonide combine drug
Outcome: asthmatic control
Question: เนื่องจาก โดยปกติจะใช้ budesonide ร่วมกับ combine drug คือ formoterol ในการ control asthma แต่ใน case นี้ แพทย์ได้ให้เพียง budesonide จึงสงสัยว่า การให้ budesonide เพียงตัวเดียว สามารถที่จะควบคุมให้ไม่มีอาการในแต่ละวัน แตกต่างจาก budesonide combine drug หรือไม่

Search engine PubMed
Search term Asthma , Budesonide
Number of search results limit(free full text, Study in human, male, age 13-18 yrs, English language, RCT,5 years later) : 22

Title: Therapeutic comparison of a new budesonide/formoterol pMDI with budesonide pMDI and budesonide/formoterol DPI in asthma
วารสาร: International jounal of clinical practice. November 2007
link: http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/17887990?ordinalpos=2&itool=EntrezSystem2.PEntrez.Pubmed.Pubmed_ResultsPanel.Pubmed_RVDocSum

10/07/2008

Assignment II

วัน พฤหัสบดี ที่ 10 กรกฎาคม 2551 ชื่อกลุ่ม กลุ่มโรงพยาบาลเทพา
รายชื่อสมาชิกในกลุ่ม
1. นักศึกษาแพทย์ กติกา เลี้ยงสกุล 4725001
2. นักศึกษาแพทย์ ชวนิตา แพร่ศรีสกุล 4725026
3. นักศึกษาแพทย์ พัชรินทร์ แซ่ตั้ง 4725098
4. นักศึกษาแพทย์ สุพรรษา ไทยสมบูรณ์ 47250140
5. นักศึกษาแพทย์ รสิตา สาแหละ 4725116
6.นักศึกษาแพทย์ มัลลิกา วงศ์ชนะ 4725112
7. นักศึกษาแพทย์ อมีนา อุสมา 4725154
Case ผู้ป่วยหญิงไทยคู่อายุ42ปี
CC. มาตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกประจำปี
PI. 3สัปดาห์ก่อนมาโรงพยาบาล มีตกขาวปริมาณมาก เป็นสีน้ำตาลเข้มๆ มีกลิ่นเหม็น
แต่ไม่มีอาการคันหรือเจ็บช่องคลอดใดๆ ปัสสาวะได้ปกติดี ไม่มีอาการแสบหรือขัด ปัสสาวะใสดี
2 สัปดาห์ก่อน รู้สึกเจ็บที่ช่องคลอดมากเวลาที่มีเพศสัมพันธ์ ไม่มีเลือดออกภายหลังจากการร่วมเพศ
อาการตกขาวยังไม่ดีขึ้น สังเกตว่าตกขาวบางครั้งมีเลือดปนปริมาณเล็กน้อยไม่มีอาการเบื่ออาหาร หรือน้ำหนักลดใดๆ
2 วันก่อนมาโรงพยาบาล ได้ปรึกษากับพี่สาว เกี่ยวกับอาการผิดปกติ พี่แนะนำให้มาตรวจที่โรงพยาบาล ผู้ป่วยรู้สึกกังวลว่าจะมีการเจ็บป่วยร้ายแรงจึงมาโรงพยาบาล
PH. LMP.ประมาณ1 เดือนก่อนมาโรงพยาบาล จำวันที่ไม่ได้แน่ชัด
คุมกำเนิดโดยการรับประทานยาคุม
G2P2 last เมื่อ15 ปีที่แล้ว
เคยมาตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกล่าสุดเมื่อ สองปีที่แล้ว ผลปกติดี จึงไม่ได้มาตรวจตามนัดประจำปี
ไม่เคยเจ็บป่วยใดๆด้วยโรคทางนรีเวช
ไม่ได้มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ไม่มีประวัติโรคประจำตัว
ไม่เคยแพ้ยาหรืออาหารใดๆ
family history. ไม่มีประวัติครอบครัวเป็นโรคทางนรีเวช
ไม่มีโรคทางพันธุกรรมใดๆในครอบครัว
PE. Vital signs:BT 36.0 ๐c RR 16/min BP 110/70 mmHg PR 80/min
GA. A THai woman ,good consciousness, look healthy
HEENT. Not pale ,no icteric sclera
LN. Cannot palpate
Heart. Normal s1,s2 , no murmur
Lung. Clear both lungs,equal Rt and Lt
Abdomen. Soft ,not disten ,no tender,normoactive bowel sound
PV MIUB: normal pubic hair distribution ,no lesion
Vagina: normal vaginal wall,no lesionmoderate bloody stain leukorrhea
with foul smell
Cervix: no lesion ,no contact bleeding ,no bleedind or dischargeper os
Adnexa: not tender, free mobile ,no mass
Utreus: Antevert,normal size
Cul-de-sac:not bulging ,not tender
หลังจากที่ได้นำระดูขาวที่เก็บจากช่องคลอดมาทำการตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์พบว่ามี clue cell ปริมาณมาก จึงวินิจฉัยว่าเป็น Bacterial vaginosis ได้รับการรักษษด้วยยาmetronidazole
และทำการส่งตรวจPap smear จากนั้นจึงนัดมาฟังผลภายหลังซึ่งผู้ป่วยมีความกังวลอย่างมาก กลัวว่าจะเป็นโรคมะเร็งปากมดลูก:
Question:Is HPV DNA testing early screening cervical cancer than Pap smear?
ประเภทปัญหาทางคลินิก: Diagnosis
P: A marriedThai woman, 42 years old
I: Pap smear and HPV DNA testing
C: Biopsy
O: For screening cervical cancer in early stage
แนวทางการค้นหาข้อมูล
-web-base resources ที่เลือกใช้ ได้แก่ Pubmed clinical Queries
คำหรือรูปแบบที่ใช้ในการค้นหา ได้แก่ Cervical cancer and papanicolaou screening test and Human papillomavirus DNA
จำนวน Article ที่เกี่ยวข้องที่ปรากฏ:8
ชื่อ Article ที่เลือกอ่านเพื่อตอบปัญหาทางคลินิก: Human papillomavirus DNA versus Papanicolaou screening tests for cervical cancer
ชื่อเรื่อง: Human papillomavirus DNA versus Papanicolaou screening tests for cervical cancer
ชื่อผู้แต่ง: Mayrand MH, Duarte-Franco E, Rodrigues I, Walter SD, Hanley J, Ferenczy A, Ratnam S, Coutlée F, Franco EL
ชื่อวารสาร: The New England Journal of Medicine VOL.356 No.16
ปีที่พิมพ์: October 18,2007

09/07/2008

Assignment II กลุ่มโหนดเนะ (ระโนด)

assignment II กลุ่มโหนดเนะ!!(ระโนด)
วันพฤหัสบดี ที่ 10 กรกฎาคม 2551

รายชื่อสมาชิกกลุ่ม
นศพ.กิตติวุฒิ วุ่นดี รหัสนักศึกษา 4725009
นศพ.จตุพร วิจิตรเวชการ รหัสนักศึกษา 4725015
นศพ.ซัลมา มาลินี รหัสนักศึกษา 4725039
นศพ.ธัญญา แก้วดวงแข รหัสนักศึกษา 4725066
นศพ.นิฟะห์มี หะยีนิเลาะ รหัสนักศึกษา 4725075
นศพ.สมรัก สมหวัง รหัสนักศึกษา 4725135
นศพ.อัซฮารี สมาน รหัสนักศึกษา 4725161

case scenario:เด็กหญิง อายุ 6 เดือน
CC: ไข้มา 4 วันก่อนมาโรงพยาบาล
PI: 4 วันก่อนมาโรงพยาบาลมีอาการไข้ ไม่มีหนาวสั่น มีน้ำมูกไหล ไม่ไอ ปัสสาวะ อุจจาระ ปกติ แม่พาไปที่คลินิก แพทย์วินิจฉัยว่าเป็นไข้หวัด ได้ยา paracetamol , Actifed
2 วันก่อนมาโรงพยาบาล ยังคงมีไข้สูงอยู่ อาการคงเดิม1 วันก่อนมาโรงพยาบาล แม่สังเกตมีผื่นแดง ขึ้นบริเวณแขนขา เด็กมีอาการซึมลง จึงพามาโรงพยาบาลPH: ร่างกายแข็งแรงปฏิเสธโรคประจำตัวปฎิเสธประวัติแพ้ยา/อาหารน้ำหนักแรกคลอด 2.7 kg.
PE:An infant, fully conscious but irritable, body weigh 5.1 kgs.
Vital signs: Temp 39.8 C, HR 160 beats/min, RR 40 breaths/min, BP 98/50 mmHg
HEENT: mild injected conjunctiva, no icteric sclera, red lips , normal anterior fontanel.Lymph node: not palpable
Heart: regular rhythm, tachycardiaLung: clear, no adventitious sound
Abdomen: soft, no organomegaly
Skin : Erythematous rash at trunk and extremities, old BCG scar at left shoulderInvestigations:CBC: Hb 10.6 gm%, Hct 30.7%, WBC 14,000/cumm (N 72%,L 28%), platelets count 328,000/cummU/A: yellow ,clear, sp.gr 1.024, PH=5, WBC 20-30/HPFได้รับการวินิจฉัย Kawasaki diseaseTreatment;high dose intravenous immunoglobulinIVIG) 2g/kg and high dose and started on oral aspirin ( 80mg/kg/day).เมื่อให้aspirinครบ14 วันเปลี่ยนเป็น low dose aspirin(5mg/kg /day).
Question: Can IVIG reduce risk of coronary aneurysm than placebo in children with kawasaki disease ?
ประเภทปัญหาทางคลินิก:Therapy
Patient:children with kawasaki disease
Intervention:IVIG
Comparison:placebo
Outcome:reduce risk coronary aneurysm
แนวทางการค้นหาข้อมูล:
-web-base resources ที่เลือกใช้ ได้แก่ Pubmed clinical Queries
คำหรือรูปแบบที่ใช้ในการค้นหา ได้แก่ Kawasaki disease and intravenous immunoglobulin and coronary aneurysm
จำนวน Article ที่เกี่ยวข้องที่ปรากฏ:8
ชื่อ Article ที่เลือกอ่านเพื่อตอบปัญหาทางคลินิก:Intravenous immunoglobulin for the treatment of Kawasakidisease in children (Review)
ชื่อเรื่อง:Intravenous immunoglobulin for the treatment of Kawasaki
disease in children (Review)

ชื่อผู้แต่ง:Oates-Whitehead RM, Baumer JH, Haines L, Love S, Maconochie IK, Gupta A, Roman K,Dua JS, Flynn IT
ชื่อวารสาร:Cochrane Database of Systematic Reviews 2003, Issue 4. Art. No.: CD004000.
ปีที่พิมพ์:2003

assignment II กลุ่ม จะนะนะจ๊ะ episode II

วันพุธ ที่ 9 กรกฎาคม 2551 ชื่อกลุ่ม จะนะนะจ๊ะ episode II
สมาชิก
นศพ.เกวลิน กอบวิทยา
นศพ.จุรีพร แซ่ลิ่ม
นศพ.ธนวรรณ แก้วเกลี้ยง
นศพ.ธนิตา แสงเปี่ยมสุข
นศพ.ปิยาภรณ์ เพชรชู
นศพ.พรรณนิภา ชินโชติพันธ์
นศพ.สิริอนงค์ สิทธิพงษ์
case scenario : ผู้ป่วยหญิงอายุ 27 ปี G1P0A0 ,GA 34wks by LMP CC: เจ็บครรภ์คลอดมา 8 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล
PI: 8 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล รู้สึกเจ็บครรภ์คลอด เจ็บค่อนข้างถี่ เป็นพักๆ และปวดมากขึ้นเรื่อยๆ ไม่มีไข้ จึงรีบมาโรงพยาบาล

PH : - ปฏิเสธโรคประจำตัว - ปฏิเสธประวัติแพ้ยา/แพ้อาหาร
Menstrual history : ประวัติระดูครั้งสุดท้ายวันที่ 20 มิถุนายน 2550
ประจำเดือนครั้งแรกเมื่ออายุ 13 ปี ประจำเดือนมาสม่ำเสมอ รอบละ 3-4 วัน ใช้ ผ้าอนามัย 2-3 แผ่น/วัน
ไม่ได้คุมกำเนิด
Personal and family history : แต่งงานตอนอายุ 26 ปี ไม่ได้คุมกำเนิด สามีแข็งแรงดี
ไม่มีประวัติโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ไม่มีประวัติเป็นโรคทางนรีเวช
ไม่มีโรคทางพันธุกรรมหรือโรคติดต่อในครอบครัว
ไม่ดื่มเหล้า และ สูบบุหรี่

ประวัติANC : ที่ รพ.หาดใหญ่ ฝากครรภ์ครั้งแรก เมื่ออายุครรภ์ 9 wk by LMP
ความดัน 110/50 mmHg ปกติดีตลอดการตั้งครรภ์
ผล serology negative
น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์ 45 kg,
รู้สึกลูกดิ้นประมาณ GA 20 wk
ได้รับวัคซีนTTครบ2 เข็ม
แรกรับ
v/s :BT 36.4 C BP 130/80 mmHg PR 80/min RR 20/min
BW 57 kg, height 160 cm
Abdomen: FH: ¾>@ ,position OL ,FHR 144/min
PV : - cervix dilate 2 cm- effacement 60%- station -2- membrane intact- presentation vertex
Quesion: In pregnancy with preterm labor pain what drug between bricanyl or nifedipine more prolongation time of pregnancy
ประเภทปัญหาทางคลินิก: therapy
patient: pregnancy with preterm
intervention: bricanyl
comparison:nifedipine
outcome: prolongation time of pregnancy
แนวทางการค้นหาข้อมูล
-Web-based resources ที่เลือกใช้ ได้แก่ pubmed Mesh database search
-คำหรือรูปแบบที่ใช้ในการค้นหา ได้แก่ (( “ Pregnancy” [Mesh] AND “Obstetric labor,Premature” [Mesh] AND “Terbutaline” [Mesh] AND “Nifedipine”[Mesh]))
-Limit: English ,human ,full text
-จำนวน Articles ที่เกี่ยวข้องที่ปรากฏ = 4 Articles
-ชื่อ article:Terbutaline versus nifedipine for prolongation of pregnancy in patients with preterm labor.
-ชื่อผู้แต่ง: L.Mawaldi,P.Duminy,H.Tamin.
-ชื่อวารสารและปีที่พิมพ์ :International Journal of Gynecology and Obstetrics (2008)100,65-68

05/07/2008

comment comment comment


อย่าลืม comment 2 casesด้วยนะครับ

ส่งงาน case therapy นศพ.นิฟะห์มี หะยีนิเลาะ

case2 นศพ.นิฟะห์มี หะยีนิเลาะ 4725075
Treatment
เด็กชายไทยอายุ 11 ปี
CC : แขนขาอ่อนแรงมา 20 วัน
PI : 20 วันก่อนมาโรงพยาบาล เริ่มมีอาการแขนขาอ่อนแรง เดินไม่ไหว แต่ยืนได้ ไม่มีอาการชัก รู้สติดี พูดคุยรู้เรื่อง
ไม่มีไข้ ไม่มีอาการหอบหายใจเหนื่อย ปัสสาวะปกติ ไม่มีท้องเสียหรืออุจจาระเหลว
10 เริ่มยืนไม่ไหว ยกแขนขาเองไม่ได้ แต่ยังหายใจปกติ รู้สติดี พูดคุยรู้เรื่อง มารดาเห็นอาการแย่ลงจึงมาโรงพยาบาล
PH : บุตรคนแรก 1/2 คลอดปกติ น้ำหนักแรกคลอด 3200 กรัม กลับบ้านพร้อมแม่
อาหารสามมื้อ
พัฒนาการปกติตามเกณฑ์ เรียน ป.6 การเรียนปานกลาง
vaccine ครบ
ปฏิเสธโรคประจำตัวและโรคทางพันธุกรรม
PE : v/s : BT 37.1 HR 80 RR 20 BP 110/75
GA :good conciousness ,BW 48 kg
Skin : no rash
HEENT : not pale ,no jaundice ,pharynx not injected , no cervical lymphadenopathy
Heart : normal s1 s2 , no murmur
Lungs : clear both lungs
Abdomen : soft ,not tender
Extremities : Areflexia(all 0) , moter power all extremities = 2
Dx :Guillain-Barre Syndrome (GBS)

Question : การใช้ IVIG รักษาโรค GBS ในผู้ป่วยที่มีอาการนานมากกว่า 2 สัปดาห์ เทียบกับการรักษา
โดยการทำ blood exchange อย่างใดให้ผลดีกว่ากัน

Therapy : นศพ.รสิตา สาแหละ

เด็กชายไทย อายุ 9 เดือน
CC : มีไข้ 7 วันก่อนมาโรงพยาบาล
PI : 7 วัน PTA มีไข้ ถ่ายเหลวมากกว่า 10 ครั้ง น้ำปนเนื้อ ไม่มีมูกเลือดปน อาเจียน 4-5 ครั้ง เป็นน้ำลายปนนม ไปพบแพทย์ที่คลินิก บอกว่าเป็น ลำไส้
อักเสบ ได้รับการรักษาให้ norfloxacin , paracetamol , cefaclor syr. , kaopectal syr.
6 วัน PTA มีไข้ ถ่ายเหลวและอาเจียนลักษณะเดิม ไปพบแพทย์ที่คลินิกอีกครั้ง เปลี่ยนยาฆ่าเชื้อ หลังกินยา ยังมีไข้สูง
2 วัน PTA มีไข้สูงตลอด อาการถ่ายเหลวและอาเจียนน้อยลง เริ่มมีผื่นขึ้นตามตัว ไม่ได้สังเกตว่าผื่นขึ้นที่ใดก่อน เห็นก็มีผื่นทั้งตัวแล้ว จึงไป
รพ.ปัตตานี admit Tx. atarax , paracetamol , motilium
1 วัน PTA มีไข้สูงเป็นช่วงๆ เริ่มมีตามแดงทั้ง 2 ข้างไม่มีขี้ตา
วันนี้มีไข้สูงอยู่ ถ่ายเหลวน้ำปนเนื้อ สีเหลือง 4-5 ครั้ง ไม่มีมูกเลือดปน อาเจียนน้ำลายปนนม 4-5 ครั้ง รพ.ปัตตานี refer รพ.หาดใหญ่ จากสงสัย
Kawasaki disease และแพ้ยา
PH : ปฏิเสธประวัติโรคประจำตัว
ปฎิเสธประวัติแพ้ยาและอาหาร
ได้รับวัคซีนตามกำหนดทุกครั้งที่ รพ.ปัตตานี MMR ได้เลื่อนนัดไป จากการมีไข้ครั้งนี้
พัฒนาการปกติ
ประวัติการคลอดปกติดี
PE : GA : A Thai boy , look irritability , good consciousness
HEENT : conjunctivitis both eyes and no exudate , TM intact both ears
pharynx mild injected , tonsil not enlarged
erythematous mouth and no cracked lips
erythematous cheek , no stawberry tongue
right cervical lympnode enlargement 3+3 cm.
H&L : WNL
Abd. : soft , not tender , no hepatosplenomegaly
Ext. : generalized maculopapular rash st trunk and extermities
hands and feet are swelling
no desquamation at palm and sole
Diagnosis Kawasaki disease
Tx. ให้ IV IG
Problem สงสัยว่า การ IV IG มีประโยชน์ในการรักษาและป้องกันภาวะแทรกซ้อนของโรคได้มากน้อยเพียงใด

ส่งงาน case Diagnosis นศพ.นิฟะห์มี หะยีนิเลาะ

case1 นศพ.นิฟะห์มี หะยีนิเลาะ 4725075
Diagnosis
เด็กชายไทยอายุ 3 เดือน
CC : ไอและหอบมา 3 วัน
PI : 3 วันก่อนมาโรงพยาบาล เริ่มมีอาการไอมาก เสมหะสีขาว และมีอาการหอบหายใจเหนื่อย ไม่มีไข้ เป็นตลอดทั้งวัน ไม่มีน้ำมูกไหล ปัสสาวะปกติ ไม่มีท้องเสียหรืออุจจาระเหลว อาการไม่ดีขึ้นจึงมาโรงพยาบาล
PH : บุตรคนแรก 1/1 คลอดปกติ น้ำหนักแรกคลอด 2800 กรัม กลับบ้านพร้อมแม่
ทานนมแม่
พัฒนาการปกติตามเกณฑ์
vaccine ครบ
ปฏิเสธโรคประจำตัวและโรคทางพันธุกรรม
PE : v/s : BT 37.1 HR 148 RR 64 BP 60/38
GA :good conciousness,look sick ,BW 4800 gm
Skin : no rash
HEENT : redness conjunctiva with suffusion ,no jaundice ,pharynx not injected , no cervical lymphadenopathy
Heart : normal s1 s2 , no murmur
Lungs : fine crepitation both lungs
Abdomen : soft ,not tender
Extremities : no edema ,no rash
investigate : CXR perihilar infiltration
CBC normal
Dx atypical pneumonia
Question : การใช้ clinical (อายุ ไม่ไข้ ไอ หอบ ตาแดง crepitation) สามารถวินิจฉัย atypical pneumpnia(C.trachomatis) ในเด็กอายุไม่เกินสามเดือนได้หรือไม่
Case therapy นศพ. อัซฮารี สมาน
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 29 ปี G2P1 GA 32wk by LMP
CC : ปวดท้องน้อย 1 ชั่วโมงก่อนมารพ.
PI: 1 ชั่วโมงก่อนมารพ. มีอาการปวดท้องน้อย ปวดแบบบีบๆ เป็นพัก ๆ ปวดร้าวไปหลัง ปวดสม่ำเสมอ ปวดถี่ และแรงขึ้นเรื่อยๆ จึงมารพ.
PH: ปฏิเสธโรคประจำตัว
ปฏิเสธประวัติแพ้ยาแพ้อาหาร
ประวัติการฝากครรภ์ : ฝากครรภ์ที่รพ.หาดใหญ่ สม่ำเสมอ ความดันโลหิตปกติตลอดการตั้งครรภ์ น้ำหนักขึ้นปกติ ได้รับ TT ครบสองเข็ม
OB&GYN : ประวัติคลอดก่อนกำหนดในครรภ์ที่แล้ว GA 30 wks by ultrasound แต่งงาน 5ปีคุมกำเนิดโดยการทานยาคุม ปฏิเสธประวัติโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ปฏิเสธประวัติการผ่าตัดทางสูตินรีเวช
PE: v/s BT= 36.7 c PR= 80/min RR= 20/min BP=120/80
HEENT: not pale ,no jaundice
HEART: normal s1s2 , no murmur
LUNG: clear both, no adventitious sound
ABDOMEN : FH = 2/4 ++ > umbilicus ,fHS= 152/min
PV: cervical dilatation 6 cm
Effacement 100 %
Station 0
Membrane intact
Position OL
Lab investigation : HCT: 37%
Anti HIV : negative
VDRL1: negative
Urine albumin : negative , Urine sugar : negative


Diagnosis: preterm labor pain with history of preterm birth
ผู้ป่วยได้รับ Dexamethasone 5mg iv ทุก 12 ชั่วโมง x 4 dose
Bricanyl 5 ampule in 5% D/W 500 cc iv drip
Background: เคยทราบว่ามีการใช้ progesterone ในการprevention preterm birth ในผู้ป่วยที่มี risk ต่อ preterm birth

Problem : Does progesterone can decrease rate of preterm birth in high risk for preterm birth patient ?
Case diagnosis นศพ. อัซฮารี สมาน
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 19 ปี G1P0 GA 39 wk by ultrasound
CC : ปวดท้องน้อย 40 นาทีก่อนมารพ.
PI: 1 ชั่วโมงก่อนมารพ. มีน้ำใสๆ ไหลจากช่องคลอดเปื้อนผ้าถุง
40 นาทีก่อนมารพ. มีอาการปวดท้องน้อย ปวดแบบบีบๆ เป็นพัก ๆ ปวดร้าวไปหลัง ปวดสม่ำเสมอ ปวดถี่ และแรงขึ้นเรื่อยๆ จึงมารพ.
PH: ปฏิเสธโรคประจำตัว
ปฏิเสธประวัติแพ้ยาแพ้อาหาร
ประวัติการฝากครรภ์ : ไม่ได้ฝากครรภ์
OB&GYN : ไม่ได้แต่งงาน คุมกำเนิดโดยการทานยาคุมฉุกเฉิน ปฏิเสธประวัติโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ปฏิเสธประวัติการผ่าตัดทางสูตินรีเวช
PE: v/s BT= 37.4 c PR= 80/min RR= 20/min BP=120/80
HEENT: not pale ,no jaundice
HEART: normal s1s2 , no murmur
LUNG: clear both, no adventitious sound
ABDOMEN : FH = ¾ > umbilicus ,fHS= 144/min
PV: cervical dilatation 4 cm
Effacement 80 %
Station 0
Membrane leak
Position OL
Lab investigation : CBC normal
UA: normal
Anti HIV rapid test : positive
VDRL: negative
HBsAntigen : negative
HIV-Ab (ELISA): positive
Diagnosis: HIV infection in pregnancy with no ANC
ผู้ป่วยได้รับการรักษา โดยให้รับประทานยา NVP (200) 1 tab , AZT(300) 1 tabs และทานAZT(300) ทุก 3 ชั่วโมงจนนคลอด

Problem: การใช้ rapid test และยืนยันด้วย ELISA มีความแม่นยำและถูกต้องเพียงใดในการวินิจฉัย ภาวะ HIV infection ในคนท้อง

diagnosis by นศพ.สุพรรษา ไทยสมบูรณ์

เด็กหญิงอายุ 1 ปี 7 เดือน
CC:ถ่ายเหลว 3วัน
PI : 3 วันก่อนมาโรงพยาบาล มีไข้ต่ำๆ เช็ดตัวแล้วไข้ลดลง ถ่ายเหลว 3-4 ครั้ง/วัน เป็นน้ำสีเหลืองปนเนื้อ กลิ่นเหม็นเปรี้ยว มีมูกปน ไม่มีเลือดปน ปริมาณ 50 ml/ ครั้ง มีอาการปวดท้องร่วมด้วย คลื่นไส้และอาเจียน 2 ครั้ง/วัน เป็นอาหารที่รับประทานเข้าไป รับประทานอาหารได้น้อยลง
วันนี้อาการไม่ดีขึ้น อุจจาระเป็นฟอง มีกลิ่นเหม็นเปรี้ยว ถ่ายเหลว 3 ครั้ง อาเจียน 2 ครั้ง ผู้ป่วยเพลียมากและซึมมากขึ้น จึงพามาโรงพยาบาล
ปฏิเสธการรักษาหรือกินยาใดๆ ก่อนมาโรงพยาบาล ปัสสาวะครั้งสุดท้าย4 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล เป็นสีเหลืองเข้ม
PH : ปฏิเสธโรคประจำตัว, ปฏิเสธประวัติแพ้ยา-อาหาร, ไม่เคยเจ็บป่วยจนต้องพักรักษาตัวในโรงพยาบาลwell child care :
birth history : คลอดปกติ น้ำหนักแรกคลอด 2820 กรัม ปกติ ไม่มีเหลืองหลังคลอด กลับบ้านพร้อมแม่
development : gross motor วิ่งได้
fine motor ตักอาหารกินเองได้, ขีดเส้นได้
language พูดคำ 1 พยางค์ที่มีความหมายได้ 2 คำ คือ แม่, ไก่
personal social กลัวคนแปลกหน้า
Nutrition : ข้าวสวย 3 มื้อ มื้อละ 1-2 ทัพพี รับประทานได้ 5หมู่ ดื่มนมแม่ กับขนมถุง 2 ถุง/วัน
Physical examination:
vital sign : BP 97/63 mm.Hg RR 32 /min PR 130 bpm. BT 37.4
general appearance : Thai girl, look pale, mild jaundice, good consciousness, look fatigue
skin : poor skin turgor, redness at buttock, impetigo both extremities
HEENT : sunken eyeball,pale,not icteric, lymph node not enlarged, pharynx mild injected, tonsil not enlange
heart & lung : WNL
abdomen : active bowel sound, no distension, no mass, no ascieties, not tender, no hepatospleenomegaly
Neurological examination : WNL
Investigation
CBC wbc 11800 PMN 43% Lymp 52% Eo 3% Mono 1%
Rbc 4840000 HGB 10.6 Hct 32.8% MCV 67.6 MCH 21.8 MCHC 32.2
Plt 456000 atyp lymp 1%
UA spc 1.030 Rbc-WBC-protien-ketone-sugar negative
Electrolyte Na 136 K 3.3 Cl 105 CO2 24
Stool exam parasite not found
WBC-Rbc not found
fat grobules many
Diagnosis 1 acute diarrhea from rotavirus with mild dehydration
2 iron deficiency anemia
3 impetigo

Problem : ผู้ป่วยที่มีอการ lactase deficiency diarrheaชัดเจน แต่ถ้า ruducing substance <2+ จะถือว่าเป็น lactase deficiency diarrhea หรือไม่

Case Diagnosis นศพ.กิตติวุฒิ วุ่นดี

Case หญิงอายุ 30 ปี
CC: เจ็บครรภ์คลอด 6 hrs ก่อนมาโรงพยาบาล
PI : G2P1 GA 40 wks by LMP6 hrs ก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยมีอาการเจ็บครรค์ โดยลักษณะการปวดจะปวดแบบบีบๆ บริเวณท้องน้อย โดยอาการปวดเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ และถี่มากขึ้น ไม่มีประวัติน้ำเดิน ไม่มีประวัติเลือดออกผิดปกติ
PH : - ปฏิเสธโรคประจำตัว- ปฏิเสธประวัติการเข้ารับการผ่าตัดใดๆหรือได้รับเลือด- ปฏิเสธประวัติแพ้ยา,แพ้อาหาร
ประวัติ ANC:เป็นผู้ป่วย no risk LMP 2 ก.ค. 2550 ผู้ป่วยบอกจำแม่น
- ฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์ 12 wks
- ผลตรวจเลือด anti-HIV,VDRL1,OF,DCIP negative Hct 34%
ครรภ์แรกคลอด NL male BW 2990 w ไม่มีปัญหาหลังคลอด ตอนนี้อายุ 4 ขวบ
PE: Vital sign: BT 37.2 PR 100/min RR 24/min BP 120/8o mm.Hg.
GA : good consciousness
HEENT : not pale , no jaundice
Heart : normal s1 s2, no murmur
Lung : normal breath sound
Abdomen : FH 3/4 > O, OR, FHR 135/min,contraction I5 D40
PV : cervix dilate 4 cm., Eff 50% ,MI ,station -1, OR
Lab:VDRL2 positive , FTA-ABS positive
สามี VDRL, FTA-ABS positive
คลอด NL เพศชาย น้ำหนัก 3100กรัม apgar score 9 9 9 admit ที่ NICU สังเกตดูอาการ แต่ไม่มีปัญหาหลังคลอด ส่ง VDRL ลูก ผล negative และไม่มีอาการผิดปกติ
CASE นี้ได้รับการวินิจฉัยในพ่อและแม่ว่า เป็น primary syphilis
รักษาโดย Benzanthine penicillin G 2.4 ล้านunit IM single dose ใน พ่อและแม่เด็ก
ส่วนเด็กให้: Procaine penicillin G (P-PEN) 50,000 units/kg/day IM for 10 days
ข้อสงสัย ในการตรวจ The treponemal tests นั้น ระหว่าง TPHA กับ FTA-ABS อย่างไหนที่มีประสิทธิภาพมากกว่ากัน และทำไมใน case นี้จึงเลือกตรวจ FTA-ABS

diagnosis case by นศพ.ชวนิตา แพร่ศรีสกุล

ผู้ป่วยชายอายุ 24 ปี
CC: ผล chest x-ray ผิดปกติ
PI: มาตรวจเช็คร่างกายตามกำหนดของบริษัทก่อนเข้าทำงาน
ผล chest x-ray พบ cavity ขนาด 0.5*0.5 cm. บริเวณ right upper lobe without mediastinal or hilar lymphadenopathy, no infiltration , no mass or fibrotic scar,normal bony structure, sharp costophrenic angle,normal heart size
แข็งแรงดีมาตลอด ไม่มีอาการไอ ไม่มีอาการอ่อนเพลีย ไม่มีน้ำหนักลด ไม่มีไข้
PH: ปฏิเสธประวัติโรคประจำตัวใดๆ
ปฏิเสธประวัติแพ้ยา แพ้อาหารไ
ม่ได้ใช้ยาใดเป็นประจำ
สูบบุหรี่วันละประมาณ 5-6 มวน มา10 ปี
ดื่มเหล้าเวลามีงานสังสรรค์กับเพื่อน ประมาณ เดือนละ3-4ครั้ง
Family history:ปฏิเสธคนใกล้ชิดป่วยเป็นวัณโรค
ปฏิเสธประวัติเโรคติดต่อทางพันธุกรรมในครอบครัว
PE: Vital signs. BT 36.5 ๐C RR 20/min PR 78/min BP 120/80 mmHg
GA: A Thai man ,good consciousness, well cooperation
HEENT: Not pale ,no icteric sclera , Thyroid can't palpable
LN: can not palpable
Heart:Normal s1,s2 ,no murmur,regular rhythm
Lung: Clear,equal both lungs
Abd:soft ,not distension ,not tenderExtremities: no pitting edema
ผลเลือดและการตรวจทางห้องปฏิบัติการอื่นๆ ปกติ
แพทย์ได้ทำ tuberculin skin test หลังจากนั้น 2วัน มีlesion ขนาด 15 mm.
Diagnosis: Latent tuberculosis infection
ได้รับการรักษาเพื่อ prevent TB โดยให้รับประทานยา isoniazid ขนาด 300mg วันละ1 ครั้ง เป็นเวลา6 เดือน
คำถาม: อยากทราบว่าการใช้ tuberculin skin test มีความแม่นยำและถูกต้องมากน้อยเพียงใดในการวินิจฉัยผู้ป่วยในระยะ Latent tuberculosis infection และจะมีการวินิจฉัยด้วยวิธีการอื่นที่มีความแม่นยำมากกว่าหรือไม่

case therapy by นศพ. สุพรรษา ไทยสมบูรณ์

เด็กหญิงอายุ 7 ปี
CC : ไข้สูง 5 วัน
PI : 5 วันก่อนมาโรงพยาบาล มีไข้สูง กินยาลดไข้และเช็ดตัว ไข้ลดลงได้ มีอาการไอและน้ำมูกมาก กินไม่ค่อยได้ สังเกตว่าขี้ตาและน้ำตาเยอะ ไม่ได้ไปรักษาที่ใดก่อนมาโรงพยาบาล
1 วันก่อนมาโรงพยาบาล ไข้สูง กินยาลดไข้แล้วไข้ไม่ลดลง สังเกตเห็นเริ่มมีผื่นที่หน้าลามมาบริเวณลำตัว เริ่มหายใจเหนื่อย
PH : ปฏิเสธโรคประจำตัว, ปฏิเสธประวัติแพ้ยาแพ้อาหาร
Well child care :
Nutrition : กินอาหาร 3 มื้อ ครบ5 หมู่, กินนมกล่อง 1 กล่อง/วัน, กินขนมถุง1-2 ถุง/วัน
Immunization : BCG, DPT5, OPV5, HBV3, JE3, Measles
Development : เรียนชั้นป. 1 ผลการเรียนปานกลาง, เข้ากับเพื่อนร่วมชั้นเรียนได้ดี
Labor : เป็นบุตรคนที่2/2 คลอดปกติ น้ำหนักแรกคลอด2700 กรัม แรกคลอดปกติ ไม่ส่องไฟ กลับบ้านพร้อมมารดา
Physical examination
vital sign : BT 39.8 RR 40/min. PR 100 bpm. BP 90/60 mm.Hg.
general appearance : Thai girl. good consciousness,
skin : discrete erythematous maculopapular rash at face and trunk
HEENT : whitish papules with erythematous base at second molars and bccal mucosa, pharynx injected, tonsil enlarge 1+ no exudate
Lung : fine crepitation both lung
Heart : WNL
Abdomen : active bowel sound, no mass, no ascieties
Diagnosis :Measle
Treatment : supportive treatment, vitamin A

Problem : การให้วิตามิน A ทำให้ Measle หายเร็วขึ้นหรือไม่

Diagnosis by นศพ.อลิสรา หวังภัทราวานิช

ผู้ป่วยหญิง อายุ 10 ปี
CC : ซีดมากขึ้น 1 เดือน PTA

PI : 1 เดือน PTA มารดาสังเกตว่าผู้ป่วยมีอาการซีดมากขึ้น มีอาการเพลีย หน้ามืด
เป็นบางครั้ง แต่ไม่มีอาการตัวเหลือง ตาเหลือง ไม่มีไข้ ถ่ายปัสสาวะ อุจจาระปกติ ไม่มีท้องโต
ไม่มีเลือดออกผิดปกติ จึงพามา ร.พ.
PH: เป็นบุตรคนที่ 1/1 แรกคลอดปกติ กลับบ้านพร้อมมารดา
รับวัคซีนครบตามนัด
ปฏิเสธโรคประจำตัวใดๆและโรคพันธุกรรมในครอบครัว
ปฏิเสธการใช้ยาใดเป็นประจำ
Nutrition รับประทานอาหารครบห้าหมู่
ไม่เคยมีอาการแบบนี้มาก่อนและไม่มีคนในครอบครัวมีอาการเหมือนผู้ป่วย
PE: BW : 32 kg. HT. 145 cm.
V/S : BT 37.2 PR 72/min RR 20/min BP 100/65 mmHg.
GA : A Thai girl , Good consciousness , afebrile
HEENT: Moderate pale , no jaundice , no lymphadenopathy
Heart& Lung : WNL
Abdomen : soft, not tender , no hepatosplenomegaly , no distension
Extremities: no deformity,no skin lesion , no hematoma
LAB : CBC : Hb 6 WBC 3,000 Plt. 85,000

Dx. : R/O Aplastic anemia
คำถาม : การทำ Bone marrow aspiration สามารถวินิจฉัยแม่นยำเพียงพอหรือไม่เทียบกับ Bone marrow biopsy (Gold standard) ในการวินิจฉัย Aplastic anemia

diagnosis นศพ.มัลลิกา วงศ์ชนะ

เด็กชายไทย อายุ 1 ปี
CC : ไข้สูง 2 day PTA
PI : 1 wk PTA มีไข้สูงตอนกลางคืน ไม่ไอ ไม่มีน้ำมูกไม่เจ็บคอ ซึมลง กินข้าวได้ปกติ ไม่มีหายใจหอบเหนื่อย ปัสสาวะ อุจจาระปกติ เช็ดตัวแล้วไข้ลดลง แต่ไม่นานก็มีไข้กลับมาอีก
5 day PTA มีอาการถ่ายเหลวเป็นน้ำสีเหลือง 5 ครั้ง ไม่มูกเลือด ไม่มีฟอง ไปพบแพทย์ที่คลินิก ได้ยามารับประทาน ไม่มีอาการถ่ายเหลวอีก แต่ไข้ยังไม่ดีขึ้น
2 day PTA ยังมีไข้สูงอยู่ตลอด ไปพบแพทย์ที่โรงพยาบาลนคร ฯ ผล CBC มีleukocytosis lymp เด่น UA ปกติ ได้ Ceftriaxone 550 gm iv OD ผู้ป่วยยังมีไข้อยู่ และเริ่มมีอาการปากแดง ซึมลง จึงขอย้ายมารักษาที่โรงพยาบาลหาดใหญ่
หลัง admit 2 วัน ผู้ป่วยเริ่มมีอาการปากแดง แห้งเล็กน้อย และตาแดง ยังมีไข้อยู่

PH : - ปฏิเสธประวัติโรคประจำตัว
- ไม่เคยประสบอุบัติเหตุร้ายแรง
- ไม่เคยเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาล
- ปฏิเสธประวัติแพ้ยา แพ้อาหาร

Physical examination :
Vital sign : BT 38.5, PR 116/min, RR 32/min, BP 91/43 mm.Hg.
GA : good consciousness, active
HEENT : diffuse conjunctival injection, not pale, AF 1+1 cm.,PF closed
Skin : no rash
Mouth and throat : red lips with cracking, normal oral mucosa,tonsilar injection no pus and enlargement 1+
Neck : lymp node enlargement 1 node at posterior triangle ~ 1 cm. movable not tender
Heart : normal s1s2 no murmur
Lung : clear,equal both lung
Abdomen : active bowel sound, no mass, not tender
Anus : redness

Lab investigation :
CBC : - leukocytosis , lymphoid predominent
- microcytic anemia
UA : starvation (ketone 10 mg/dl)

การวินิจฉัย : - Viral AGE
- R/O incomplete kawasaki disease เนื่องจากมีไข้สูง อย่างน้อย 5 วัน ร่วมกับมี trypical feature 2-3 ข้อ ใน 5 ข้อของcriteria
ได้ส่ง CBC และ ESR เพิ่มเติม เพื่อ diag incomplete kawasaki disease ก่อนเริ่มให้การรักษา

ประเด็นสงสัย : การใช้ lab investigation เพิ่มเติมในการวินิจฉัย incomplete kawasaki ก่อนให้การรักษา เช่น ESR,CRP, CBC มีความน่าเชื่อถือและมีประสิทธิภาพเพียงพอหรือไม่

Therapy case by นศพ.ณัฐริกา เทพลิบ

Therapy case by นศพ.ณัฐริกา เทพลิบ
ทารกเพศชาย อายุ 7วัน
CC: หอบเหนื่อยตั้งแต่แรกเกิด
PI: G1P0 GA 33 wk by Ballard score NL น้ำหนักแรกคลอด 1700 g คลอดปกติไม่มีปัญหาแทรกซ้อนระหว่างคลอด หลังคลอดมีอาการหาบใจเร็ว หอบเหนื่อย ซี่โครงบาน ไม่ซีด ไม่เขียว ไม่มีความผิดปกติส่วนอื่นของร่างกาย
PE :vital sign BT 37 C RR 68 /min HR 130/min
GA: a thai male newborn,no cyanosis
HEENT: anterior fontanelle 2x2 cm,posterior fontanelle 1x1cm,no bulging,normal shape,no caput,no cephalhematoma,no nasal septum deviation,nasal flaring
Heart: continous machine murmur
Lung: crepitation both lung, subcostal retraction
Abdomen: soft,no distention,no mass,umbilical at midline A:V=2:1
Genitalia&anus:patency anus,male genitalia
Extremities:no deformitites
แพทย์ทำการส่งCXR ผล- ground-grass appearance both lung,hypoaeration
Imp: 1. RDS
2.R/O PDA
ทารกมีอาการหายใจเหนื่อย แพทย์จึงรับไว้รักษาในNICU ต่อมาวันที่7 อาการดีขึ้น หายใจหอบเหนื่อยน้อยลง ไม่มีซี่โครงบาน แพทย์จึงส่ง echocardiogram พบว่าเป็นPDA ขนาด 3mm แพทย์ได้วางแผนการรักษาต่อ โดยการให้ indomethacin ช่วยในการปิดductus arteriosus แพทย์อีกท่านกล่าวว่า ibuprofen ก็ช่วยในการปิดductus arteriosus ได้เช่นกัน
ปัญหา ibuprofen มีประสิทธิภาพในการปิดPDA ได้เทียบเท่ากับ indomethacin หรือไม่ ทั้งผลในการปิดPDA และผลข้างเคียงที่ตามมา

Diagnosis นศพ วรารักษ์ วิจะสิกะ

PP: ผู้ป่วยชายไทยคู่ อายุ 86 ปีCC: ปัสสาวะลำบาก 3 เดือน
PI : 3 เดือนก่อน ผู้ป่วยมักมี ปัสสาวะลำบาก ไม่สุด ต้องเบ่ง 5 วันก่อน มารับการรักษาที่โรงพยาบาลเนื่องจาก เป็นอัมพาตช่วงล่าง ได้รับการทำกายภาพบำบัด ขณะรับการรักษาที่โรงพยาบาล ปัสสาวะไม่ออก ต้องใส่สายสวนปัสสาวะ
PH : Underlying is old ischemic stroke 1 ปีก่อน
ความดันโลหิตสูงมา 10 ปี , no other u/d
ไม่มีแพ้ยาแพ้อาหาร
Physical examination Vital sign BT 37.2 c, BP 160/110 mmHg. , P 84/min., RR 20/min, GA :Good consciousness
HEENT: not pale, no jaundice
HEART : normal
LUNG : normal
Abdomen ; SOFT , active bowl sound
Ext : upper limb : motor grad 4
lower limb : motor grad 1
DRE : Prostate 3 FB. Irregular surface, hard nodule bilat., normal sphincter tone
PSA : 30 ng/ml
Diagnosis : CA prostate
Plan : transurethral resection of the prostate (TURP)
Problem : การส่งตรวจ tumor marker(PSA) สามารถใช้ในการวินิจฉัยเบื้องต้น ในผู้ป่วย CA prostate ได้หรือไม่

04/07/2008

Therapy : นศพ. ธัญญา แก้วดวงแข

เด็กชายไทย อายุ 5 ปี
CC : ถ่ายเหลวมา 2 วันก่อนมาโรงพยาบาล
PI : 2 วันก่อนมาโรงพยาบาลมีอาการถ่ายเหลวเป็นน้ำมากกว่าเนื้อ ~ 6 ครั้ง ครั้งละประมาณ 3/4 แก้วไม่มีมูกเลือดปน มีคลื่นไส้อาเจียน 3 ครั้งเป็นอาหารที่รับประทานเข้าไป ปวดท้องเล็กน้อย ปัสสาวะปกติ อ่อนเพลีย รัยประทานอาหารได้น้อยลงไม่มีไข้
1 วันก่อนมาโรงพยาบาลยังมีอาการถ่ายเหลว~ 5 ครั้ง ครั้งละ ~ 1/2 แก้ว ไม่มีมูกเลือดปน คลื่นไส้อาเจียน ~3 ครั้ง ปวดท้องเล็กน้อย ปัสสาวะออกน้อยลงและมีสีเข้มขึ้น รับประทานอาหารได้เล็กน้อย มารดารู้สึกว่ามีไข้เล็กน้อยและอ่อนเพลียมากจึงมาโรงพยาบาล
PH : ไม่มีแพ้ยาแพ้อาหาร
ไม่มีโรคประจำตัว
Nutrition ข้าว 3 มื้อ ดื่มนมเป็นอาหารเสริม
Vaccination ครบตามเกณฑ์
Development ปัจจุปันอยู่ชั้นอนุบาล 3 พูดคล่อง เดินวิ่งได้คล่อง วาดภาพสามเหลี่ยมได้ เล่นกับเพื่อนได้ดี

PE :
GA : Good consciousness
HEENT : Not pale cnjunctiva , no icteric sclera , no sunken eyeball , mild dry lip
Heart&Lung : Normal
Abdomen : Soft , Generalize mild tenderness , no distension
Extremities : normal skin turgor , no rash

Investigation
Stool exam Moderate WBC , minimal RBC , no bacteria

Diagnosis Acute diarrhe (mild dehydration)
Treatment ORS + supportive

Problem ความเข้มข้น(osmolarity)ของORSมีผลต่อการรักษาภาวะ Dehydration ใน Acute diarrhea หรือไม่ อย่างไร

Diagnosis : นศพ.รสิตา สาแหละ

เด็กชายไทย อายุ 1 ปี 11 เดือน

CC : ไข้ 15 วัน ก่อนมาโรงพยาบาล

PI : 15 วัน PTA ไข้ต่ำ ท้องอืด ปวดทั่วๆ ท้อง
12 วัน PTA ไข้สูง ถ่ายเหลววันละ 1 ครั้ง ลักษณะสีเหลือง น้ำปนเนื้อ admit รพ.ตะโหมด มีไข้สูงตลอด ถ่ายเหลววันละ 2-3 ครั้ง มีลักษณะ
เช่นเดิม ท้องอืด รับประทานอาหารไม่ได้
รพ.ตะโหมด Tx. ampi , genta , ceftri
9 วัน PTA refer ไป รพ.พัทลุง จากตรวจมี guarding สงสัย appendicitis ที่ รพ.พัทลุง ตรวจไม่มี guarding ได้ให้การรักษา
แบบ acute febrile illness Tx. ceftri ไข้ไม่ลง ยังมีถ่ายเหลว จึงเปลี่ยนเป็น teinam ไข้สูงเป็นช่วงๆ อาการดีขึ้น รับประทานอาหาร
ได้มากขึ้น ถ่ายเหลวน้องลง ท้องอืดลดลง แต่ยังหาสาเหตุไข้ไม่ได้ ญาติต้องการมารักษาต่อที่ รพ.หาดใหญ่ จึง refer มา

PH : ปฏิเสธประวัติโรคประจำตัว
ปฏิเสธประวัติแพ้ยาและอาหาร
ปฏิเสธประวัติเข้าป่า, ลุยน้ำ แต่บ้านอยู่ในภูมิลำเนาที่มีต้นไม้และป่ายาง
ปฏิเสธคนแถวบ้านเป็นไข้เลือดออก

PE : V/S : BT 38 , RR 30 , PR 184
GA : A Thai boy , look irritable , good consciousness
HEENT : not pale , no jaundice , mild dry lips , mild sucken eyeballs
TM : normal light reflex both ears , tonsil and pharynx not injected
H&L : WNL
Abd. : soft , not tender , mark distension , hepatomegaly 3 cm. below right costal margin
Ext. : normal skin turgor , capillary refill <>
no eschar , no petechiae

Lab : Weil- Felix test -0x2 > 1:320

Diagnosis
Thaitick scrub

Problem สงสัยว่า Weil- Felix test มีความแม่นยำเพียงใดในการวินิจฉัยโรค Scrub

case therapy นศพ วรารักษ์ วิจะสิกะ

Case therapy
เด็กชายไทย อายุ 7 วัน
CC : ท้องอืด มา 3 วัน
PI : 3 วัน ขณะอยู่ใน NICU มีอาการท้องอืด กินนมได้น้อยลง ซึมลง ไม่ร้องกวน ไม่มีไข้ ไม่สำลักนม อุจจาระสีเหลือง วันละ5-6 ครั้ง ไม่มีเลือดปน ปัสสาวะปกติ
Birth history: Normal labor G2P1 GA 34 wk by u/s BW. = 2,100 gm Apgar score 9, 9
ไม่มีปัญหาก่อนคลอด และ ขณะคลอด
หลังคลอดมีหายใจเหนื่อยได้ใส่ท่อช่วยหายใจ 2 วันอาการดีขึ้น จึงเอา ท่อออก ได้รับการวินิจฉัย Trantiant tarchypnea of newborn [ TTNB]
Nutrition : Breast Feeding
Vaccination : BCG1, HBV1
PE: Vital sing BT : 37.5 C RR: 58/ min PR: 120/min
GA: A Thai male newborn , no cyanosis HEENT: AF 2×2 cm. , not tense ,nomal shap , Lung: Clear both lung
Heart: PSM gr.2 at LUSBAbdomen: mild distention , soft , hypoactive bowlsound , no hepatosplenomegaly
Extremity : active , no lesion
Stool occult blood : positive
Flim : mild ileus in abdomen flim
Diagnosis : Necrotizingg Enterocolitis [NEC] stage I
Problem : การให้ antibiotic ในผู้ป่วย NEC stage I ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษาโรคได้ หรือไม่

Therapy By นศพ.อลิสรา หวังภัทราวานิช

ผู้ป่วยหญิง อายุ 22 ปี G1P0 GA 37 wks. by LMP
CC: มีอาการเจ็บครรภ์คลอด 3 hrs.PTA

PI : G1P0 GA 37 wks.by LMP (LMP 14 ก.ย. 50) ฝากครรภ์ครั้งแรกที่ ร.พ.หาดใหญ่ ขณะ GA 10 wks.
มาตรวจครรภ์ตามนัดทุกครั้ง ปกติดี (Hct. 38%, Anti-HIV ,VDRL : negative)
ขณะ GA 32 wks. พบว่ามี BP 160/100 mmHg. ไม่มีอาการขาบวม
ไม่มีอาการผิดปกติใดๆ urinedipstick for albumin : negative
หลังจากนั้นเมื่อมาตรวจครรภ์พบ BPอยู่ระหว่าง 140/90 - 160/100 mmHg. ไม่มีอาการผิดปกติอื่นๆ
3 hrs.PTA มีอาการเจ็บครรภ์มากขึ้น ท้องตึงเป็นพักๆ เจ็บถี่ขึ้น นานขึ้น ไม่มีอาการปวดศีรษะ
ไม่มีตา พร่ามัว ไม่มีปวดบริเวณชายโครง ไม่มีอาการขาบวม

PE : V/S : BT 36.8 PR 80/min RR 20/min BP 160/110 mmHg.
GA: A thai female , Good consciousness
HEENT: Not pale, no jaundice
Heart &Lung: WNL
Abdomen: FH 3/4 > umbilical , FHS 148/min , position: OL , EFW: 3,300 g.
PV: Cx.dil. 4 cm. , Eff. 90% , MI , Station -2
Urinedipstick : 1+
Dx. : Preeclampsia
จึงให้การรักษาโดยให้ Hydralazine 5 mg. IV เพื่อควบคุมความดัน และช่วยเร่งคลอด
คำถาม : อยากทราบว่าสามารถใช้ยาตัวอื่นช่วยลดความดันได้หรือไม่ เทียบ ระหว่าง Hydralazine และยา Labetalol ยาชนิดใดที่มีประสิทธิภาพในการลดความดันได้ดีกว่า

case therapy นศพ.กิตติวุฒิ วุ่นดี

case เด็กชายายุ 8 ปี
CC: บวมมา 5 วัน
PI: 5 วันก่อนมาโรงพยาบาล มีไข้ ไอเจ็บคอ ปัสสาวะลดลง
3 วันก่อนมาโรงพยาบาล เริ่มบวมที่ขาทั้งสองข้าง ท้อง ใบหน้า
วันนี้บวมมากขึ้น จึงมาโรงพยาบาล
PH: อายุ 3 ปีมีอาการบวมบริเวณหน้ามาก พาไปพบแพทย์ แพทย์บอกว่าเป็นโรคไตให้ยามาทาน ช่วงแรกทานวันละ2 ครั้ง(ครั้งละ 5 เม็ด)
ช่วงหลังทาน 6 เม็ด(วันละ 1 ครั้ง) แล้วหยุดไป
ประวัติวัคซีน: BCG,HBV3,DPT5,OPV5,measles vaccine1
PE: BW 24 kg
GA:Good consciousness,generalized edema
VS:BT 37 c ,BP 100/60 mmHg,RR 24/min,PR100/min
HEENT: puffy eyelids,not pale, no joundice, no injected pharynx, normal ear canal and tympanic membrane
Chest:normal breath sound
Heart:normal s1 s2 ,no murmur
Abdomen:marked distend,ascites +ve,not tender liver and spleen no palpated
Extremities:pitting edema 3+
Neuro:WNL
LAB: CBC : Hb 14.2 gm/dl,Hct 42%,WBC 8500cell/cumm,PMN 75% L19% M6% Plt 570,000
UA : sp.gr 1.040,RBC 0-1cell/HPF,WBC 0-1cell/HPF, protein 4+
BUN/Cr 10/0.4 , Cholesterol 614 mg% triglyceride 607 mg% ,Albumin 1.5 gm%
Case นี้ ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็น Nephrotic Syndrome
สงสัยว่า ในการรักษา Nephrotic syndrome ในช่วง Initial management หากเราให้ steroids ร่วมกับ ยากลุ่ม Immonosuppressive drugs(cyclophosphamide) จะมีประสิทธิภาพในการรักษามากกว่าการให้ steroids อย่างเดียวหรือไม่

THERAPY CASE BY นศพ.ชวนิตา แพร่ศรีสกุล

ผู้ป่วยหญิงอายุ32ปี G2P1 twin pregnancy GA 34 Wk by LMP
CC: ปวดท้อง 2 วันก่อนมารพ
PI: 2วัน PTA มีอาการปวดท้อง ปวดแบบตึงๆไม่ร้าวไปไหน ร่วมกับท้องแข็งเป็นพักๆ ไม่มีน้ำเดิน หรือเลือดออกทางช่องคลอด ลูกดิ้นดี ปวดถี่ขึ้นเรื่อยๆจึงไป รพ.เทพา แพทย์ให้นอนพักที่รพ.และให้ Bricanyl อยู่รพ.เทพา 1 คืน ยังมีอาการปวดท้อง และท้องแข็งเป็นพักๆ จึง refer มายัง รพ.หาดใหญ่
PH: ปฏิเสธโรคประจำตัวและโรคติดต่อทางพันธุกรรม
ปฎิเสธการแพ้ยา แพ้หอยทะเลหากรับประทานจะมีผื่นคันขึ้นตามตัว
ANC ที่สถานีอนามัย อ.เทพา ไปตามที่นัดทุกครั้ง
Obs &Gyne : แต่งงานมาประมาณ 10 ปี ลูกคนแรกอายุ 8 ปี
ปฏิเสธโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ปฎิเสธการผ่าตัดทางนรีเวช
PE :V/S : BT 36.9 PR 72 RR 20 BP 120/80
GA : A Thai woman, good consciousness well-coorperation
BW : 68 kg
HEENT : Not pale, no jaundice, Thyroid can't palpable
Heart & Lung : WNL
Abd : Soft ,not tender , FH = 3/4 >PS, uterine contraction I 6’10” D45”
Ext : no edema
PV: cervical os not open
LAB INVESTIGATION
CBC : Hct 34.0 % other : normal
ULTRASOUND: twin pregnancy monochorion diamnion GA 30 weeks by U/S
Twin A vertex presentation FHR 134/min weight 1130 grams
Twin B vertex presentation FHR 144/min weight 1230 grams
Diagnosis : twin pregnancy with preterm labor
สงสัยว่าการรักษาในผู้ป่วยรายนี้ ควรจะให้การเจ็บครรภ์ดำเนินต่อไปและเข้าสู่การคลอด เนื่องจากอายุครรภ์ก็ครบ 34 สัปดาห์ ปอดสามารถทำงานได้ดีแล้ว หรือว่า ควรจะยืดอายุครรภ์ออกไป เนื่องจากทารกทั้งคู่ยังมีน้ำหนักน้อยอยู่ และถ้าหากจะให้คลอด จำเป็นจะต้องให้ dexamethasone หรือไม่

Diagnosis By นศพ.ซัลมา มาลินี

PP: ผู้ป่วยชายไทยคู่ อายุ 59 ปี
CC: เจ็บหน้าอก 8 ชั่วโมง PTA
PI: 8 hr PTA ขณะที่นอนหลับอยู่ ก็มีอาการเจ็บบริเวณหน้าอกด้านซ้าย มีร้าวไปไหล่ซ้ายและต้นคอด้านซ้าย ลักษณะเจ็บแน่นๆเหมือนมีของหนักมาทับ นวดคลำหน้าอกซ้ายก็ไม่ดีขึ้น เจ็บอยู่ประมาณ 10 นาที จากนั้นก็หายเองไม่เคยมีอาการเช่นนี้มาก่อน มีเหงื่อแตก ใจสั่นร่วมด้วย มีคลื่นไส้ อาเจียน 1 ครั้ง ไม่เคยมีอาการแบบนี้มาก่อน ไม่มีไข้ ปัสสาวะอุจจาระปรกติ ไปโรงพยาบาลควนโดน ตอน 8.30 น. มีการตรวจร่างกายและส่งตรวจเพิ่มเติม วินิจฉัยว่าเป็นภาวะหัวใจขาดเลือดฉับพลัน จึงส่งตัวมารักษาต่อที่โรงพยาบาลหาดใหญ่

PH: ปฏิเสธโรคประจำตัวใดๆ
ปฏิเสธการแพ้ยา แพ้อาหาร
ปฏิเสธการได้รับกระทบกระแทกหน้าอก
สูบบุหรี่ทุกวันๆละ 1 ซอง มาประมาณ 30 ปี ลดการสูบเหลือวันละ1-2 มวนมาประมาณ 3-4 เดือน
ปฏิเสธการดื่มเครื่องดื่มผสมแอลกอฮอล์
FH: บิดาผู้ป่วยเสียชีวิตด้วยโรคหัวใจ

Physical examination
PE : v/s BT 36.8 PR 80/min RR 20/min BP 140/70mmHg
GA : A Thai man, Good consciousness
HEENT : not pale,no icteric sclera
Heart: normal s1s2, no murmur ,regular rhythm
Lung: clear Lt=Rt
Abdomen : soft, not tender
Extremities : no pitting edema

Lab
CBC: no anemia, no leukocytosis
LFT: normal
Cardiac enzyme: CPK 180 nomal 0-167 U/L
CK-MB 60 normal 0-25 U/L
Troponin T 0.2 nomal 0.01-0.1
EKG: sinus rhythm,rate 75/min, no RVH and LVH,
Pathologic Q wave: V1 – V4 Inverted T wave :V 2 – V5

คำถาม: อยากทราบว่าการใช้ cardiac enzyme มีความแม่นยำและถูกต้องมากน้อยเพียงใดในการวินิจฉัย myocardial infarction

Diagnosis : ธัญญา แก้วดวงแข

ผู้ป่วยหญิงไทยอายุ 47 ปี
CC : ประจำเดือนมามาก 5 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล
PI : 6 เดือนก่อนมาโรงพยาบาล มีประจำเดือนมามาก ใช้ผ้าอนามัยแล้วก็ยังซึมเลอะผ้าถุงเป็นจำนวนมาก ไม่มีอาการปวดท้อง ไปหาหมอที่คลินิก บอกว่าประจำเดือนมามากผิดปกติธรรมดา ได้ยามารับประทานแล้วอาการดีขึ้น
4 เดือนก่อนมาโรงพยาบาล มีอาการประจำเดือนมามากอีกครั้ง โดยมีปริมาณที่มามากขึ้น ระยะเวลาที่มานานขึ้น และมาแต่ละครั้งห่างกันน้อยลง ไม่มีอาการปวดท้อง ไปหาหมอที่คลินิกและได้ทำ ultrasound พบว่าเป็นเนื้องอกที่มดลูก
5 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล ประจำเดือนมามากกว่าปกติ ( วันแรก ) มีลิ่มเลือดปน มีเลือดไหลซึมตลอดเวลาโดยเฉพาะเวลายืน ใช้ผ้าอนามัยวันละ 4-5 แผ่น ไม่มีอาการเวียนศีรษะหน้ามืดเป็นลม มีอาการปวดท้องเล็กน้อย ปัสสาวะบ่อย ไม่มีปัสสาวะแสบขัด
PH : เป็นความดันโลหิตสูงมา 2 ปี รับประทานยา 1 ปี หลังจากนั้นไม่ได้รับยาต่อเนื่องจากแพทย์ไม่ได้นัด
ไม่มีแพ้ยาแพ่อาหาร
ไม่ดื่มเหล้าสูบบุหรี่
Ob & Gyn history
G3P3 last 15 years ทำหมันเมื่อ 10 ปีก่อน
ประจำเดือนปกติ Interval 29-30 days Duration 4-5 days amount 2-3 pads/day
ประจำเดือนมามาก Interval 20-22 days Duration 10-12 days amount 4-5 pads/day
Family history
แม่เป็นมะเร็งปากมดลูก

PE :
GA : Good consciousness
HEENT : Not pale comjunctiva , no icteric sclera
Heart & Lung : Normal
Abdomen : Soft , not tender , active bowelsound , no mass
Extremities : No pitting edema
PV - MIUB : Normal
- Vagina : minimal bloody discharge
- Cervix : os close , no active bleeding , no lesion no excitation pain
- Uterus : 10 week size , not tender
- Adnexe : no mass , not tender
- Cul-De-Sac : no bulging

Investigation
CBC : Normal
Electrolyte : Normal

Diagnosis Myoma uteri
Plan Total Hysterectomy

Problem การวินิจฉัย Myoma uteri โดยใช้ Ultrasound มีประสิทธิภาพเทียบเท่า Gold standard หรือไม่

Diagnosis case by นศพ.ณัฐริกา เทพลิบ

Diagnosis case by นศพ.ณัฐริกา เทพลิบ

ผู้ป่วยหญิงไทยคู่อายุ32ปี มาพบแพทย์ด้วยเรื่องประจำเดือนขาด(วันที่12 พ.ค.51)
PI: ผู้ป่วยมีประจำเดือนขาดมาเป็นเวลา 4เดือนก่อนมาโรงพยาบาล โดยระหว่างนั้นผู้ป่วยมีอาการคลื่นไส้อาเจียนบ่อยครั้ง มักเป็นมากช่วงเช้า โดยไม่มีปวดท้องหรือถ่ายเหลว ไม่มีไข้ บางครั้งมีอาการอ่อนเพลีย มีปัสสาวะบ่อย รู้สึกว่าท้องโตขึ้น และเต้านมตึงกว่าปกติ ความรู้สึกอยากอาหารลดลง ซึ่งอาการคล้ายกับที่ตั้งครรภ์ลูกคนก่อน ผู้ป่วยจึงไปซื้อเครื่องตรวจการตั้งครรภ์จากร้านขายยามาตรวจเองพบว่าตั้งครรภ์ จึงมาร.พ.
PH: ปฎิเสธโรคประจำตัวหรือใช้ยาใดเป็นประจำ
ปฎิเสธประวัติแพ้ยาแพ้อาหาร
OB&GYN history
G1P1A0 LMP 27ม.ค. 51
ประจำเดือนมาครั้งแรกอายุ 14ปี มาสม่ำเสมอ(duration 30วัน) ครั้งละ4-5วัน ใช้ผ้าอนามัยวันละ2ผืน
แต่งงานมา6ปี มีบุตร1คนเป็นเพศชายอายุ4ปี คลอดปกติ น้ำหนักแรกคลอด2800 g ไม่มีความผิดปกติใดๆ
ไม่เคยแท้งบุตร ไม่เคยขูดมดลูกหรือเข้ารับการผ่าตัดใดๆมาก่อน
PE: vital sign : BT 37C RR 20/min PR 70/min BP 100/60 mmHg
GA: A thai female,good conciousness
HEENT: mild pale,no jaundice
Heart &Lung:WNL
Abdomen: soft,not tender, mass ~1/3 above suprapubic,no moveable
PV: MIUB: normal,no lesion
Vg: normal,no lesion,no discharge
Cx: os close,softening,no lesion,nodischarge per os
Ut: 14 wk size,not tender
Adx: no mass,not tender
Imp: Pregnancy
แพทย์ได้ส่งตรวจ UPTเพื่อยืนยันการตั้งครรภ์เป็นอันดับแรก
ผู้ป่วยจึงซักถามว่าการตรวจการตั้งครรภ์จากปัสสาวะกับการตรวจเลือดอะไรให้ผลแม่นยำกว่ากัน
ปัญหา การตรวจการตั้งครรภ์โดยUPT มีประสิทธิภาพมากน้อยเพียงใด เมื่อเทียบกับการตรวจserum b-HCG

Therapeutics by นศพ.ซัลมา มาลินี

PP:ผู้ป่วยหญิง อายุ 25 ปี G1 P0 GA 39 wk by LMP
CC: เจ็บท้องคลอดร่วมกับมีมูกปนเลือดมา 4ชั่วโมงPTA
PI: G1 P0 GA 39 wk by LMP (LMP 11 เมษายน 2550) ฝากครรภ์ครั้งแรกที่รพ.คลองหอยโข่ง
ขณะ GA 6 wk ตรวจครรภ์ตามนัดสม่ำเสมอทั้งหมด 11 ครั้ง รู้สึกเด็กดิ้นครั้งแรกอายุครรภ์ประมาณ 5 เดือน เด็กดิ้นดีมาตลอด ผลการตรวจเลือดและปัสสาวะไม่พบผลผิดปกติ
(Hct 38,33% Anti HIV,VDRL –veBlood group O) น้ำหนักขึ้นทั้งหมด 12 kg ความดันโลหิตปกติตลอดช่วงการตั้งครรภ์ ไม่พบความผิดปกติอื่นๆ
4 hr PTA ผู้ป่วยรู้สึกเจ็บครรภ์ โดยมีอาการปวดท้องเป็นพักๆ ร้าวไปหลัง มีลักษณะแรงขึ้น ถี่ขึ้นร่วมกับมีมูกเลือดออกมาทางช่องคลอด ปริมาณเล็กน้อยเปื้อนกางเกงใน จึงมารพ.
PE: v/s BT 37.7 PR 88/min RR 20/min BP 140/80mmHg
Leopold’s manuver: FH 3/4 > ๏, FHR 130/min, Fetal position OL
PV :Cx dilatation 6 cm,Effacement 100%, MI,Station -1,Presentation Vertex
3 ชม.ต่อมาได้ตรวจภายในอีกครั้ง ปรากฏว่า cervix not changeจึงได้ augmentation โดยทำARM และ dripSyntocenon 8 drop/minเพื่อให้มดลูกมีการบีบตัวดีขึ้น ระหว่างนี้ประเมินทารกในครรภ์เป็นระยะ ทารกไม่มีภาวะfetal distress หลังจากนั้นอีกประมาณ 1 ชม 15 นาที.ผู้ป่วยก็มีFully dilatation จึงย้ายเข้าห้องคลอด ให้คลอด normal labor ( caseนี้เราได้ทำด้วย) แต่ 2 hr. ผ่านไปหลังจากที่ยืนเชียร์เบ่งกันอย่างสุดฤทธิ์ ทารกก็ยังไม่ยอมคลอด เพราะฉะนั้นจึงdx Prolonged second stage ( nulliparous > 2 hr.) นำไปEmergency C/S ได้ทารกเพศหญิง น้ำหนักแรกคลอด 3,330 g Apgar 8,9,9 EBL=1,800 ml ให้RLS 1000 cc add syntocinon 20 u
ทีนี้เคยอ่านเจอว่าการให้ Misoprostol ( Cytotec® ) ใช้ป้องกันการตกเลือดหลังคลอดได้ และเคยเห็นบางสายเคยสั่งในคนไข้หลังผ่า c/s ด้วย จึงบังเกิดคำถามขึ้นมาว่า.....

คำถาม :ระหว่างการให้ Misoprostol suppository กับการให้ oxytocin intravenous ซึ่งเราใช้ใน routine practice อะไรจะมีประสิทธิภาพในการลด postpartum blood loss ได้ดีกว่ากัน...

Therapy นศพ.มัลลิกา วงศ์ชนะ

หญิงไทยคู่ อายุ 26 ปี
CC : เจ็บครรภ์คลอด 2 hrs PTA
PI : G1P0 GA 39 wks by U/S
2 hrs PTA มีอาการเจ็บครรค์คลอด โดยปวดบีบๆ บริเวณท้องน้อย อาการค่อยๆปวดมากขึ้น และถี่มากขึ้น ไม่มีน้ำเดิน ไม่มีเลือดออกผิดปกติ
PH : - ปฏิเสธโรคประจำตัว
- ปฏิเสธประวัติการเข้ารับการผ่าตัดใดๆ
- ปฏิเสธประวัติแพ้ยา,แพ้อาหาร
Mestrual History : ระดูมาครั้งแรกตอนอายุ 13 ปี ระยะเวลา 4-5 วัน รอบเดือน 28 วัน ใช้ผ้าอนามัยวันละ 2 ผืน รอบเดือนมาสม่ำเสมอ
จำ LMP ไม่ได้ EDC : 2 พ.ค. 51
Summary of antenatal period :
- ฝากครรภ์ครั้งแรกที่รพ.หาดใหญ่ เมื่ออายุครรภ์ 14 wks
- ผลตรวจเลือด anti-HIV,VDRL1,OF,DCIP negative Hct 35%
Physical examination :
Vital sign : BT 36.8 PR 96/min RR 22/min BP 110/7o mm.Hg.
GA : good consciousness, well coorperate
HEENT : not pale conjunctiva, no icteric sclera
Heart : normal s1 s2, no murmur
Lung : clear,equal both lung
Abdomen : FH 3/4 > O, OL, FHR 14o/min,contraction I5 D30
PV : cervix dilate 3 cm., Eff 50% ,MI ,station 0, OL
Laboratoty investigation :
VDRL2 positive , FTA-ABS positive
สามี VDRL, FTA-ABS positive
คลอด NL เพศชาย น้ำหนัก 2,960 กรัม apgar score 9 9 9
ไม่มี complication ระหว่างคลอด และหลังคลอด
VDRL ของบุตร negative,no symptom

การวินิจฉัย : - สามีและภรรยาเป็น primary syphilis
- บุตร R/O Congenital syphilis
การรักษา : สามีและภรรยา : Benzanthine penicillin G 2.4 ล้านยูนิต IM one dose
บุตร :Procaine penicillin G 50,000 units/kg/dose IM in a single daily dose for 10 days
ประเด็นสงสัย : เราสามารถใช้ยากินแทนยาฉีดในการรักษา primary syphilis ได้หรือไม่ เพื่อลด cost และ ความเจ็บปวด อย่างเช่น Azithromycin และประสิทธิภาพแตกต่างกันหรือไม่

therapy นศพ.สมรัก สมหวัง

•ผู้ป่วยหญิงไทยคู่ อายุ 30 ปี
CC : ปวดประจำเดือนมากมา 1 ปี
PI : 5 ปี ก่อนมาโรงพยาบาล มีปวดท้องน้อยมากเวลามีประจำเดือน ปวดบีบๆอยู่ตลอดเวลา มีไข้ เป็นลม หน้ามืด ไปพบแพทย์ที่ ร.พ.มอ. แพทย์บอกว่ามีพังผืดที่ปีกมดลูก และได้ผ่าตัดเอาพังผืดออก
1 ปี ก่อนมาโรงพยาบาล ปวดท้องน้อยเวลามีประจำเดือน มากขึ้นเรื่อย ๆ ปวดมากใน 3 วันแรกของประจำเดือน ปวดจนประจำเดือนหมด อาการดีขึ้นเมื่อได้กินยา มีปวดเบ่งถ่ายอุจจาระเวลามีประจำเดือน และมีปัญหาเรื่องมีบุตรยากจึงมาพบแพทย์ที่ ร.พ. หาดใหญ่
PH : ไม่มีประวัติการแข็งตัวของเลือดผิดปกติ
ไม่ได้ใช้ยาใดเป็นประจำ (ยกเว้น Ponstan)
ไม่มีโรคประจำตัวใดๆ
ไม่มีแพ้ยา แพ้อาหาร
OB&GYN history
มีประจำเดือนครั้งแรก อายุ 1ถ ปี เดิมมาครั้งละ 3-4 วัน ใช้ผ้าอนามัย 2-3 แผ่นต่อวัน interval=25-28วัน ปวดประจำเดือนทุกรอบเดือน
5 ปีก่อนมาโรงพยาบาลปวดประจำเดือนมาก ปวดจนประจำเดือนหมด
แต่งงานเมื่ออายุ 28ปี ไม่เคยคุมกำเนิด มีเพศสัมพันธ์สม่ำเสมอ

PE : vital sign BT 37 PR 80/min
RR 20/min BP 100/60 mmHg
GA: A Thai woman good consciousness
HEENT : not pale no jaundice
Heart&Lungs : normal
Abdomen : soft ,no distention ,not tender, active bowel sound
not PV
Lab : CBC =normal
UA =normal
Diag laparoscopic :bleb lesion บริเวณ fundus ,obliterate culde sac
Diagnosis Endometriosis stage 4
Treatment ยากลุ่ม GnRH analogue คือ enantone
อยากทราบว่า การรักษาอาการปวดประจำเดือนในผู้ป่วย endometriosis โดยการใช้ medication เช่น GnRH analogue เปรียบเทียบกับ conservative surgery อย่างไหนมีประสิทธิภาพมากกว่ากัน

Therapy : นศพ.จุรีรัตน์ จันทรัตน์

Case ผู้ป่วยหญิงอายุ 24 ปี

CC ปวดท้อง 3 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล

PI G3P2 , GA 32+1 Weeks
3 ชั่วโมง ก่อนมาโรงพยาบาล รู้สึกมีอาการปวดท้องบีบๆ บริเวณยอดมดลูก ปวดเป็นพักๆ ปวดอยู่ประมาณ 1 นาที แล้วดีขึ้น อีกประมาณ 4-5 นาที ต่อมารู้สึกปวดซ้ำอีก มีมูกเลือดออกจากช่องคลอดบริมาณไม่มาก
ลูกดิ้นดี ไม่มีน้ำเดิน ไม่มีไข้ ปัสสาวะ อุจจาระปกติดี

PH ปฏิเสธโรคประจำตัว
ปฏิเสธประวัติการใช้ยาอื่นๆ นอกจากยาบำรุงเลือดขณะตั้งครรภ์
ปฏิเสธประวัติแพ้ยาแพ้อาหาร
ปฏิเสธประวัติสูบบุหรี่และดื่มสุรา

Family history ปฏิเสธประวัติโรคพันธุกรรมในครอบครัว
ปฏิเสธประวัติการตายคลอดของสมาชิกในครอบครัว
ปฏิเสธประวัติโรคติดต่อภายใจครอบครัว

PE
Vital signs : stable
General appearance : Good conciousness
HEENT : Normal
Heart & Lung : Normal
Abdomen : Fundal height ; 3/4 > umbilicus
Fetal position ; OR , FHR 146 /minute
Uterine contraction ; Duration ~1 /minute , Interval ~4-5 /minute
Extremities : No pitting edema , No skin lesion
PV : Cervix dilate ; 2 cm.
Effacement ; 80%
Membrane ; Intact
Station ; -2
Position ; Vertex

Diagnosis : Preterm labour
Treatment : Expectant management (Tocolytic drug : Bricanyl , Steroid : Dexamethasone)

อยากทราบถึงประสิทธิภาพของยา Bricanyl เทียบกับ Nifedipine ในการ expectant management ผู้ป่วย preterm labor

Diagnosis : นศพ.จุรีรัตน์ จันทรัตน์

Case ผู้ป่วยหญิงอายุ 45 ปี

CC ตาซ้ายมัวมา 1 เดือน
PI 1 เดือน ก่อนมาโรงพยาบาล เริ่มมีรู้สึกว่าตามัวหลังจากตื่นนอนตอนเช้า และพบว่าเมื่อลองปิดตาทีละข้างแล้วมองด้วยตาข้างเดียว ตาข้างซ้ายมัวกว่าข้างขวา แต่ไม่ได้มีอาการเห็นแสงวูบวาบนำมาก่อน หลังจากนั้น 3 วัน ไปหาหมอที่ รพ. พังงา แพทย์บอกว่าไม่ได้เปนอะไร ให้ยาหยอดตามาอาการก้อดีขึ้น ระหว่างนั้นมีอาการ ตาซ้ายมัวเรื่อยๆ มองเห็นจุดสีดำๆ ลอยไปมาบ่อยครั้ง แต่ละครั้งนานไม่เท่ากัน หายได้เอง ไม่ได้สังเกตว่ามีอาการมากช่วงไหนเป็นพิเศษ ต่อมาพบว่าถ้าปิดตาขวา แล้วใช้ตาซ้ายมองตาเดียว จะเห็นสิ่งที่มองแค่ครึ่งบน ส่วนตาข้างขวายังมองเห็นปกติดี 2 สัปดาห์ ต่อมา ไป รพ. พังงา อีกครั้ง ครั้งนี้แพทย์วินิจฉัยว่า จอประสาทตาหลุดลอก จึง refer มาเพื่อผ่าตัดแก้ไข
PH มีประวัติสายตาสั้นมาตั้งแต่อายุประมาณ 20 ปี สั้น ประมาณ 300
ปฏิเสธประวัิติกระทบกระแทกต่อดวงตาทั้ง 2 ข้าง
ปฏิเสธโรคประจำตัว
ปฏิเสธประวัติการอักเสบของดวงตา
ปฏิเสธประวัติแพ้ยาแพ้อาหาร
Family history น้องชายเคยมีอาการเช่นเดียวกันแต่เป็นตาข้างขวา (จำไม่ได้แล้วว่าตอนอายุเท่าไหร่) ไปพบหมอตอนที่มีอาการมากแล้ว หมอบอกว่า จอประสาทตาหลุดลอก และอยู่ในระดับรุนแรง ไม่สามารถที่จะแก้ไขได้ หลังจากนั้นตาขวาก็มัวลงเรื่อยๆ และมองไม่เห็นในที่สุด
PE Vital signs: Stable
General appearance : Good conciousness
HEENT : Normal shape of head
Normal orbital shape
No eyelid lesion
Not pale, conjunctivae not injection
Cornea no lesion, Normal light reflex
Pupil react to light both eye ~3 mm. RAPD negative
Normal eye movement
Visual field (confrontation test) ; Rt. eye normal
Lt. eye Defected at lowner part
Fundus ; Rt. eye normal
Lt. horse shoe tear at upper part

Heart & Lung : Normal
Abdomen : Normal
Extremities : Normal

อยากทราบถึงความแม่นยำในการวินิจฉัย visual field defect โดยวิธี confrontation test เมื่อเทียบกับ gold standard(By Perimetry)

Therapy นศพ.กุลธิดา เหลืองวัฒนพงศ์

เด็กชายไทย อายุ 6 เดือน

CC:ชักมา 30 นาทีก่อนมา รพ.

PI:1 วัน PTA มีอาการเจ็บคอ น้ำมูกไหล ไข้สูง
30 นาที PTA มีอาการเกร็งกระตุกที่แขนทั้ง 2 ข้างเรื่อยมาจนถึงขานาน 5 นาที ไม่มีปัสสาวะหรืออุจจาระราด หลังชักผู้ป่วยไม่มีอาการอ่อนแรงของแขนขา และกลับมาเล่นได้ตามปกติ

PH:-เป็นการชักครั้งแรก
-ปฏิเสธประวัติโรคประจำตัว
-ปฏิเสธประวัติแพ้ยาหรือแพ้อาหาร
-เป็นลูกคนที่ 1/1 คลอดปกติที่โรงพยาบาล น้ำหนัก 3300 g กลับบ้านพร้อมมารดาใน 2 วัน
-กินนมแม่ 5-6 มื้อ , กล้วยบด 2 มื้อ
-รับวัคซีนครบตามนัด

PE:V/S-BT 38.4 , BP 80/60 , RR 50 , PR 110
GA-active with crying
HEENT-normal head size and shape
-TM not bulging , no redness
-injected pharynx , tonsil 2+
H&L-WNL
Abd.-WNL
Ext.-WNL

Dx : Febrile convulsion

Problem : การให้ยากันชักเป็น prophylaxis จะช่วยป้องกันการเกิดการชักซ้ำได้ดีกว่าไม่ให้ยาป้องกันหรือไม่

Diagnosis น.ส. จุรีพร แซ่ลิ่ม

เด็กหญิงไทยอายุ 3 วัน
C.C. กินแล้วอาเจียนตั้งแต่แรกคลอด
P.I. G3P2 GA 39 wk. by LMP หลังคลอด1วัน มารดาให้กินนม มารดาสังเกตว่าหลังกินนมไปประมาณ
5นาที มีอาเจียนไม่พุ่งออกมาหมดมีน้ำดีปน มีสำรอกทางจมูกและปากด้วย ถ่ายได้ ลักษณะเป็นสี
เหลืองๆ วันละครั้งไม่มีไข้ แต่หายใจเร็ว มารดาจึงพาไป รพช.
ที่ รพช.ได้ตรวจ abdomen: absence bowel sound , localized distention of LUQ
Film acute abdomen :double bubble signs>>Imp:duodenal atresia จึง refer มา
ร.พ.หาดใหญ่

P.H.มารดาอายุ42ปีไม่ได้เจาะตรวจน้ำคร่ำ
Normal labour , Apgar 9,10 B.W.2870 g.
PE
GA: A Thai female newborn,hypotonia , no cyanosis , on OG
HEENT: AF 2×2 cm. , not tense ,flat occiput ,
Oblique palpabral fissures , epicanthic fold
Lung: wide space of nipple , subcostal retraction
Heart: SEM gr.2 at LLSB
Abdomen: no distention , palpable mass at LUQ >>soft ,cystic lesion
Liver 1 cm. BRCM , spleen :just palpable

Lab
CBC: Hct 48% WBC 11,800/mm. PMN 76% Lym 18% Platelet :adequate
Film acute abdomen :double bubble signs

Imp:duodenal atresia

ปัญหา:อยากทราบว่าการใช้ plain film abdomen ในการ วินิจฉัยโรค duodenal atresia ให้ผลแตกต่างกันหรือไม่เมื่อเทียบกับการทำ upper GI study

Therapy : นศพ.รติกร สมรักษ์

ผู้ป่วย G1P0 GA 37+1 wk
CC : ปวดท้องมากขึ้นมา 3 ชั่วโมง

PI : 3 ชม.ก่อนมา มีอาการปวดท้อง มารพ. ตรวจ Leopold maneuvers และทำอัลตราซาวน์เพื่อยืนยันพบว่าส่วนนำเป็นท่าก้น

Past history : - ปฏิเสธประวัติโรคประจำตัวใดๆ เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ สุขภาพแข็งแรงดีมาตลอด
Family history : - แม่เป็นโรคความดันโลหิตสูง ปฏิเสธโรคทางพันธุกรรมอย่างอื่นในครอบครัว เช่น โรคเบาหวาน โรคหัวใจ

Physical examination
Vital signs : BT 37.6 ºC, PR 70/min, RR 20/min, BP 130/90 mmHg
General appearance : A Thai girl, pregnancy, healthy , good consciousness
Measurement : BW 79.5 kg, BH 160 cm, BMI 31.1 kg/m2
HEENT : Not pale, no icteric sclera, thyroid gland not enlarge
Heart & Lungs : WNL
Abdomen : Round contour, no superficial vein dilatation, soft, not tender,
liver and spleen can not be palpated, active bowel sound,
Fundal height 3/4 above umbilicus, breech presentation
FHR 150/min by stethoscope, regular rhythm,
Active fetal movement
Contraction : interval 4 min, duration 35 seconds, intensity ++
Estimated fetal weight 3,700 g
Pelvic examination : Cervical consistency : soft Cervical dilatation 4 cm
Effacement 100% Station -1
Membrane : intact Pelvis : adequate
Position : frank breech presentation
Extremities Pitting edema 1+, no varicose vein, no rash

Initial laboratory test
CBC
: normal Hct : 44.5% UA : normal

Problem list # G1P0 GA 37+1 weeks with Frank breech presentation
ประเด็นปัญหา ในผู้ป่วยรายนี้ ควรพิจารณาคลอดโดย vaginal delivery or cesarean section เพื่อให้ได้ outcome ที่ดีที่สุด