Wellcome to EBM group

ยินดีต้อนรับน้องๆทุกคนค่ะ ขอให้มีความสุขและสนุกกับการเรียนEvidence Based Medicine ของภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชนโรงพยาบาลหาดใหญ่


Staffs


20/07/2009

Assignment II (งานEBM)

Assignment II กลุ่มควนขนุน จ.พัทลุงวันอาทิตย์ ที่ 19 กรกฎาคม 2552
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม
นศพ.คัทลียา มุขดี รหัสนักศึกษา 4825015
นศพ.ชัฏชฎาพร แก้วแย้ม รหัสนักศึกษา 4825032
นศพ.ณัฐวุฒิ ตรีเมต รหัสนักศึกษา 4825044
นศพ. ธีรเดช ชนะกุล รหัสนักศึกษา 4825064
นศพ.ไพรัช ศิริกุล รหัสนักศึกษา 4825105
นศพ.มณี ประเสริฐบุญชัย รหัสนักศึกษา 4825111
นศพ.ศุภโชค ก่อวิวัฒน์สกุล รหัสนักศึกษา 4825136

CASE SCENARIO:ชายไทยคู่ อายุ 62 ปีCC: เจ็บแน่นหน้าอก 30 นาทีก่อนมาโรงพยาบาล
PI: 30 นาทีก่อนมาโรงพยาบาลขณะนั่งดูโทรทัศน์ มีอาการเจ็บแน่นกลางอก เหมือนมีอะไรมากดทับเป็นเวลานานประมาณ 10 นาที มีปวดร้าวไปยังบริเวณหัวไหลด้านซ้ายและคอ ปวดศีรษะ มีเหงื่อออก ใจสั่น นั่งพักกินยาแก้ปวด ไม่ดีขึ้น ไม่มีไข้ ไม่มี URI symptom นอนหนุนหมอน 1ใบ
PH : ไม่เคยมีอาการเจ็บแน่นหน้าอกมาก่อน
สูบบุรี่ มานานกว่า 20 ปี วันละ ประมาณ 15 มวน
Social drinking
ชอบรับประทานอาหารรสเค็ม
มีโรคประจำตัว เป็นความดันโลหิตสูง มา 14 ปี
กิน HCTZ (5 mg) 1 tab oral OD และ Atenolol(5 mg) 1 tab oral OD, pc
มารับยารักษาความดันไม่สม่ำเสมอ
ปฎิเสธประวัติโรคหัวใจในครอบครัว
ปฎิเสธ ประวัติการใช้ยาใดเป็นประจำ และยาต้มยาหม้อ
ปฎิเสธประวัติการแพ้ยา แพ้อาหาร
PE:
GA: A thai man, looked fatique, moist skin, no central and peripheral cyanosis
Vital signs: Temp 37.4 C, HR 84 beats/min, RR 20 breaths/min, BP 150/100 mmHg
HEENT: Not pale conjunctivae, no icteric sclerae
Heart: Normal S1, S2, no murmur, Apex beat at 6 th ICS at MCL, JVP not engorgment
Lung: clear, no adventitious sound
Abdomen: soft, not tender, no distention, no organomegaly,Active bowel sound
Extremities: No pitting edema, pulse full all

CBC: Hb 13.6 gm%, Hct 39.7%, WBC 7,000/cumm. (N 72%,L 28%),
platelets count 328,000/cumm.
Cardiac enzyme : Troponin T 1 ng/ml
EKG : sinus rythym, left ventricular hypertrophy, ST elevation at V1-V4

ได้รับการวินิจฉัยเป็น STEMI จึงส่งต่อไปยังโรงพยาบาลพัทลุง ให้การรักษาเบื้องต้นโดย ให้Oxygen canular 3 LPM, Mophine 4 mg IV stat, Nitrogrycerin sublingual 1 tab stat หลังจากนั้น ผู้ป่วยได้รับการรักษาที่เหมาะสมต่อไป ขณะนอนโรงพยาบาลพัทลุงได้ประมาณ 3 วัน ตรวจพบ systolic murmur at mitral valve area แพทย์จึงส่งตรวจ Echocardiogram พบ severe mitral valve regurgitation

Question
: ผู้ป่วยที่มี Myocardial infarction ร่วมกับ Mitral regurgitation มีอัตราการตายมากกว่าผู้ป่วยที่ไม่มี Mitral regurgitationร่วมด้วยหรือไม่

ประเภทปัญหาทางคลินิก:Prognosis
Patient:New case myocardial infraction with mitral valve regurgitation
Intervention:-
Comparison: Newcase myocardial infarction without mitral valve regertitation
Outcome: Mortality rate of myocardial infarction patient


แนวทางการค้นหาข้อมูล:web-base resources ที่เลือกใช้ ได้แก่ Pubmed clinical Queries
คำหรือรูปแบบที่ใช้ในการค้นหา ได้แก่ Myocardial infraction and mitral valve regurgitation เลือกที่ prognosis
จำนวน Article ที่เกี่ยวข้องที่ปรากฏ:
จำนวน Article ที่เกี่ยวข้องที่ปรากฏ129 ฉบับ
limitโดย published in last 5 years,human,english แล้วเหลือ38ฉบับ
ที่เข้าได้กับกรณีผู้ป่วยจริง 3 ฉบับ(เลือกpaperที่35)
ชื่อ Article ที่เลือกอ่านเพื่อตอบปัญหาทางคลินิก: Heart failure and death after myocardial infarction in the community. The Emerging Role Of Mitral Regurgitation.
ชื่อเรื่อง Heart failure and death after myocardial infarction in the community. The Emerging Role Of Mitral Regurgitation, 2005
ชื่อผู้แต่ง: Francesca Bursi, Maurice Enriques-Sarano, Vuyisile T. Nkomo Steven J. Jacobsen, Susan A. Weston, Ryan A. Meverden and Veronique L. Roger
ชื่อวารสาร: CIRCULATION JOURNAL OF THE AMERICAN HEART ASSOCIATION
จากกลุ่ม รพ.ควนขนุน

No comments: