This group is provided for an effective teaching and learning in EBM in Family Medicine at Hatyai Regional Hospital.
Wellcome to EBM group
ยินดีต้อนรับน้องๆทุกคนค่ะ ขอให้มีความสุขและสนุกกับการเรียนEvidence Based Medicine ของภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชนโรงพยาบาลหาดใหญ่
Staffs
26/07/2007
จดหมายถึงระโนด
ที่เงียบที่สุดเห็นจะเป็นระโนด ไกลที่สุดและคงจะติดต่อได้ยากที่สุดด้วยใช่มั้ยค่ะ
หวังว่าน้องๆยังสบายดีกันอยู่ พี่ยังไม่ได้รับ Paper ที่น้องจะทำ Critical Reading เลยค่ะ พี่ส่ง mail ไปสองครั้งและให้พี่เอียดโทรไปหาอีกครั้ง ยังไม่ได้ยินเสียงตอบกลับเลย สรุปว่าน้องๆหา Paper ได้หรือยังเอ่ย ?
หวังว่ายังสบายดีกันนะคะ
P Pook.
ไม่ใช่แค่เพื่อน แต่เป็นตั้งเพื่อน
เพิ่งได้รับเมลจากใครบางคนมา เลยโพสให้อ่าน ใครเคยอ่านแล้วอย่าว่ากันนะ
เพื่อนสนิท คือ >เพื่อนธรรมดา ๆ คนหนึ่ง ที่ดันไปสนิทกว่าเพื่อนธรรมดา ๆ ทั่วไป
> >.. ซึ่งมันก้อต้องมีอะไรหลาย ๆ อย่าง
>ที่คล้าย ๆ กับเรามากกว่าเพื่อนสนิทคนอื่น
>ถึงจะมาสนิทกันได้
> >..บางทีอาจไม่ใช่นิสัย
>..บางทีอาจไม่ใช่หน้าตา
>..บางทีอาจไม่ใช่ฐานะ
>..บางทีอาจไม่ใช่ระดับความรู้
> >..แต่มันอาจจะมีอะไรบางอย่างที่ต้องเป็น
>มันคนนี้เท่านั้นที่มี
>..เราก้อไม่ไป ที่ที่เราอยากไป
>..เพียงเพราะว่ามันไม่ไปด้วย
> >..บางครั้ง
>..นั่งเงียบอยู่ได้ตั้งนาน แต่แค่เห็นหน้ามัน
>..น้ำตาที่กลั้นไว้แทบตาย กลับทะลักออกมาได้จนหมด
> >..บางครั้ง
>..ถ้ามีเสียงหัวเราะของมันด้วย
>..เราจะหัวเราะได้ดังกว่านี้
> >..บางครั้ง
>..ร้อยคำปลอบใจของใครก็ไม่รู้
>..ยังอุ่นใจไม่เท่า มือมันที่แค่ตบเบา ๆ ที่หัวไหล่
>..บอกเป็นนัยว่า "เราอยู่ตรงนี้"
> >ชอบคำนึงที่บอกว่า
>"เราไม่ได้เป็นแค่เพื่อน แต่เราเป็นตั้งเพื่อนต่างหาก"
>เพราะเพื่อนมีความสำคัญมาก ๆ
>มากจนบางคนแยกไม่ออก เอาไปเปรียบเทียบกับแฟน
>ว่าอะไรสำคัญกว่ากัน
>ทั้ง ๆ ที่มันคนละเรื่องกันเลย
> >แต่เมื่อเวลาเราอยู่ในห้วงของความรัก
>เพื่อนจะกลายเป็นส่วนเกินของโลกส่วนตัวเราทันที
>ไอ่เพื่อนสนิทเรามันคงจะชินแล้ว
>ที่เวลาเรามีรักทีไร เราก็จะห่าง ๆ มันไปทุกที
> >เวลาที่กลับมานึกถึงมันได้อีกที
>ก็ตอนอกหักนู้นแหละ
> >ก็คิดเหมือนกันนะ
>ถ้าเราเป็นมันจะรู้สึกยังไง
> >คงประมาณว่า
>" พอมีแฟนก้อลืมเพื่อน.. ทีกะเราแร้วไม่ช่วยอะไรเรย ทีกะแฟนแทบถวายหัว"
>"ต้องเลิกกะแฟนก่อน ถึงจะจำเบอร์เราได้ใช่ไหม"
> >คิด ๆ ดูแล้ว มันก้อเป็นแบบนั้นจริง ๆ
>เพราะเวลาที่กำลังมีความสุขในห้วงแห่งความรัก
>ก้อแทบไม่ได้ไปเที่ยวไหนกะมันเรย
>นาน ๆ ถึงจะได้คุยกัน
> >แต่พอผิดหวัง พอเจ็บตัวขึ้นมา
>นาทีนั้นอยากกดโทรศัพท์ไปหามันก่อน
> >ซึ่งบางทีมันนอนไปแร้ว เราก้อจะไล่มันกลับไปนอน
>ไม่ต้องตื่นขึ้นมาฟังเรื่องราวใด ๆ ทั้งนั้น
>ไม่รู้ทำไมเหมือนกัน แค่มันรับโทรศัพท์ก้อพอแร้ว
> >แบบนี้หล่ะมั้งที่เค้าว่า
>เพื่อนคือคนที่สามารถนั่งอยุ่ด้วยกัน โดยไม่พูดอะไรสักคำ
>แต่ลุกจากกันไปได้เหมือนคุยกันไปนับล้านคำ
> >เพื่อน
>คือคนที่เมื่อเราสุข เราไม่เห็นมันอยู่ในสายตา
>แต่เป็นคนที่ไม่มีวันปล่อยให้เราล้มลง
>ไม่ว่าเราจะไปเจ็บมาจากไหน
A Thepha Guy
เห็นบอร์ดเงียบๆ เลยหาสิ่งที่น่าสนใจและเข้ากับยุคสมัยมาให้อ่านกันเล่นๆ
การป้องกันและรักษาสำหรับผู้ถูกแก๊สน้ำตา
อุปกรณ์เบื้องต้นในการปฐมพยาบาล ซึ่งคุณสามารถนำมาบริจาคเป็นอุปกรณ์รองรับในการปฐมพยาบาลแก่ทีมแพทย์ได้ น้ำ (ควรนำมามากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ เพื่อใช้ในการดื่ม ล้างแผล หรือล้างตา) ถุงมือไวนิล (ใช้ป้องกันเลือดและสเปรย์พริกไทย) เหรียญและบัตรโทรศัพท์(ใช้เมื่อต้องการโทรศัพท์ฉุกเฉิน) กระดาษ,ปากกา,เทปกาว,ปากกามาร์คเกอร์ อุปกรณ์รักษาบาดแผล เช่น ที่ปิดแผล, ผ้ากอซขนาด 2x2 และ 4x4, เทปใส และ ยาฆ่าเชื้อ หรือ ยาปฏิชีวนะ อื่นๆ ผ้าอนามัยแบบสอดขนาดเล็ก(เหมาะสำหรับการห้ามเลือดกำเดา) ที่กดลิ้น เสื้อสะอาดที่บรรจุอยู่ในถุงพลาสติก (ใช้สำหรับเปลี่ยนในกรณีที่โดนแก๊สอย่างหนัก) ที่บังแดด หรือ เสื้อกันฝน (ขึ้นอยู่กับสภาพอากาศ) ยารักษาโรคต่างๆ เช่น ยาบรรเทาอาการช็อกหรือบาดเจ็บ ขนมขบเคี้ยว ผงไอซิ่งเค้ก หรือ ลูกกวาดชนิดแข็ง (ใช้สำหรับเพิ่มน้ำตาลในเลือด) ยาแอสไพริน, ยาไอบูโปรเฟน (ยาต้านการอักเสบ) สวมใส่อย่างไรดี ?
สวมใส่รองเท้าที่ใส่สบายและปกป้องเป็นอย่างดี สวมใส่เสื้อผ้าที่ปกคลุมผิวหนังทั้งหมด เพื่อป้องกันแสงแดดจากดวงอาทิตย์ และ สเปรย์พริกไทย อุปกรณ์ป้องกันดวงตา เช่น แว่นกันแดด แว่นว่ายน้ำ หรือ หน้ากากป้องกันแก๊ส แว่นตาหรือหน้ากากป้องกันแก๊ส ควรมาพร้อมกับเครื่องช่วยหายใจ เพื่อป้องกันการต่อสู้ที่ใช้อาวุธทางเคมี เสื้อกันฝน หรือ หมวกกันแสงอาทิตย์ (ขึ้นอยู่กับสภาพอากาศ) ถุงมืออย่างหนา ในกรณีที่ต้องจับถังแก๊สน้ำตา fresh clothes in plastic bag (in case yours get contaminated) เสื้อผ้าตัวใหม่ที่บรรจุอยู่ในถุงพลาสติก (ในกรณีที่โดนสารปนเปื้อน) หมวกแก็ปหรือหมวกที่ใช้ป้องกันแสงอาทิตย์และอาวุธทางเคมี ควรนำอะไรไปบ้าง ?
น้ำบรรจุในขวดที่มีหัวสเปรย์ ใช้สำหรับดื่ม หรือล้างหน้าและตา energy snacks ขนมขบเคี้ยวที่ให้พลังงาน ข้อมูลที่ระบุตัวตนหรือข้อมูลที่สามารถติดต่อในกรณีฉุกเฉินได้ เงิน ในกรณีที่ต้องใช้สำหรับโทรศัพย์, อาหาร, หรือ ยานพาหนะ นาฬิกา,กระดาษ, ปากกา เพื่อสามารถระบุเหตุการณ์แก่เจ้าหน้าที่ตำรวจได้อย่างแม่นยำ น้ำ หรือ ครีมป้องกันแดดที่เป็นแอลกอฮอล์ ยาประจำตัว ใบสั่งยาจากแพทย์ ผ้าอนามัย (หากจำเป็น) หลีกเลี่ยงผ้าอนามัยแบบสอด เนื่องจาก คุณอาจไม่ได้เปลี่ยนในกรณีที่ถูกจับ (หากไม่เปลี่ยนผ้าอนามัยแบบสอดมากกว่า 6 ชั่วโมง จะเพิ่มอัตราเสี่ยงอาการติดเชื้อในกระแสเลือด) ACTION FASHION FAUX PAS
สิ่งที่ไม่ควรปฎิบัติ
ไม่ควรทาวาสลีน, ออยล์ที่มีส่วนผสมของแร่, สารป้องกันแดดหรือมอยซ์เจอร์ไรเซอร์ที่มีส่วนผสมของออยล์ บนผิวหนัง เนื่องจากสารเหล่านี้มีคุณสมบัติในการจับสารเคมี ไม่ควรใส่คอนแทคเลนส์ เพราะคอนแทคเลนส์อาจจับสารเคมีเข้าไปภายในลูกตาได้ ไม่ควรสวมใส่เครื่องประดับที่สามารถจับฉวยได้ง่าย เช่น ตุ้มหู อัญมณีต่างๆ เน็คไท หรือ ปล่อยผม ไม่ควรเข้ากลุ่มประท้วงเพียงลำพัง ทางที่ดีที่สุดควรไปกับกลุ่มใกล้ชิด หรือเพื่อนที่รู้จักคุณ อย่าลืมนอนหลับ รับประทานอาหารให้เพียงพอ และดื่มน้ำให้เยอะๆ เนื่องจากเราไม่สามารถคาดเดาถึงเหตุการณ์ต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นในการประท้วงได้ แก๊สน้ำตา) และเสปรย์พริกไทย แก๊สน้ำตา (หรือ CS,CN,CX)และเสปรย์พริกไทย ( OC) คือ ส่วนผสมของสารเคมี ที่ทหารและเจ้าหน้าที่ตำรวจใช้ในการสลายม็อบและฝูงชน มีคุณสมบัติที่ทำให้เยื่อบุภายในช่องปากและโพรงจมูกเกิดอาการระคายเคือง หน่วยงานป้องกันด้านสิ่งแวดล้อมของสหรัฐอเมริกา ได้เปิดเผยว่า แก๊สน้ำตาและสเปรย์พริกไทย มีส่วนผสมของตัวทำละลายที่อาจก่อให้เกิดมะเร็ง หรือ การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมได้ และถ้าหากตัวทำละลายเหล่านี้มีความเป็นพิษสูง ก็จะก่อให้เกิด ภาวะสับสนทางจิต, ปวดศีรษะ, ปวดขา, หัวใจเต้นแรง,ภาพหลอน, ปัญหาประจำเดือน, การแท้ง, และผลกระทบต่อปอดและระบบย่อยอาหาร
จะเกิดอะไรขึ้นหากโดนแก๊สน้ำตาและสเปรย์พริกไทย ?
ทั้งแก๊สน้ำตาและสเปรย์พริกไทยจะส่งผลให้ผิวหนังระคายเคือง ปวดไหม้ น้ำไหลออกมาจากตา จมูก ปาก รวมทั้งทางเดินหายใน สเปรย์พริกไทย นั้น ถือเป็นอุปกรณ์ยอดฮิตสำหรับเจ้าหน้าตำรวจทั้งหลาย เนื่องจาก มันมีคุณสมบัติที่ก่อให้เกิดความเจ็บปวดโดยฉับพลัน และขจัดออกจากผิวหยังได้ยาก
อย่างไรก็ตาม ข่าวดีก็คือ อาการต่างๆ เหล่านี้จะเกิดขึ้นเพียงชั่วคราวเท่านั้น ความเจ็บปวดจากแก๊สน้ำตาจะหายไปหลังจากสัมผัสแล้วประมาณ 5-30 นาที ส่วนสเปรย์พริกไทยนั้น อาจใช้เวลามากกว่า คือประมาณ 20 ถึง 2 ชั่วโมง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการดูแลรักษาของแต่ละบุคคลด้วย
การป้องกัน
สำหรับผู้ที่มีร่างกายแข็งแรงส่วนใหญ่ แก๊สน้ำตาและสเปรย์พริกไทยจะออกฤทธิ์เพียงชั่วคราว อย่างไรก็ตาม สำหรับบางคน มันอาจส่งผลกระทบต่อชีวิตเป็นเวลาที่นานกว่า ซึ่งบุคคลที่มีลักษณะอาการต่อไปนี้ ควรหลีกเลี่ยงการสัมผัสแก๊สน้ำตาและสเปรย์พริกไทย
Conditions
บุคคลที่เป็นโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ เช่น หอบหืด หรือ ถุงลมโป่งพอง เป็นต้น เด็ก ผู้สูงอายุ และผู้มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง สตรีมีครรภ์ หรือ สตรีที่ต้องการตั้งครรภ์ ผดุงครรภ์ บุคคลที่เป็นโรคผิวหนัง เช่น สิวอักเสบ เรื้อน หรือมีปัญหาที่ดวงตา บุคคลที่สวมคอนแทคเลนส์ อาจเสี่ยงต่อสารเคมีที่จับภายใต้เลนส์ วิธีป้องกันตัว
หลีกเลี่ยงการใช้ออยล์ โลชั่นและ ผงซักฟอก เนื่องจากสิ่งเหล่านี้มีคุณสมบัติในการจับสารเคมี ควรซักเสื้อผ้า สระผม และอาบน้ำ ด้วยสิ่งชำระสกปรกที่ไม่มีส่วนผสมของผงซักฟอก จะปลอดภัยที่สุด แนะนำให้ใช้ครีมกันแดดที่มีส่วนผสมของน้ำหรือแอลกอฮอล์ (ไม่ควรใช้ครีมที่มีออยล์เป็นส่วนผสม) ควรสวมเสื้อผ้าที่ปกคลุมผิวหนังที่สุด รวมทั้งสวมหมวก เพื่อป้องกันแสงอาทิตย์ หน้ากากป้องกันแก๊สเป็นอุปกรณ์ที่ช่วยป้องกันใบหน้าได้ดีที่สุด ซึ่งต้องเลือกที่ฟิตและปกปิดใบหน้าพอดี หรือ อาจใช้แว่นป้องกันที่มีแลนส์กันแตก, เครื่องช่วยหายใจ , อุปกรณ์ปิดจมูกและปาก จะรับมืออย่างไร ?
ควรอยู่ในความสงบเพราะถ้ายิ่งตื่นตกใจก็จะยิ่งทำให้เกิดความระคายเคือง ลึหายใจช้าๆ และ ระลึกไว้ว่า อาการเหล่านี้จะเกิดขึ้นเพี่ยงชั่วคราวเท่านั้น หากเห็นว่ามีการยิงแก๊สน้ำตาหรือสเปรย์พริกไทยหรือมีสัญญาณเตือน ควรรีบสวมอุปกรณ์ป้องกัน หากเป็นไปได้ ให้เคลื่อนหนีและอยู่ในตำแหน่งเหนือลมให้เร็วที่สุด หากสัมผัสแก๊สน้ำตาหรือสเปรย์พริกไทย ให้รีบสั่งน้ำมูก, บ้วนน้ำ, ไอ และ พ่นน้ำลาย พยายามอย่ากลืน หากสวมคอนแทคเลนส์ พยาถอดคอนแทคเลนส์ออกหรือให้คนอื่นช่วยถอดออก ทั้งนี้ต้องคำนึงถึงความสะอาด และ นิ้วมือไม่มีสิ่งปนเปื้อนด้วย
22/07/2007
Evidence Based Medicine in Hatyai Hospital,Thailand:THEPHA GUYS
รายชื่อสมาชิกในกลุ่ม Thepha guys
1 นศพ. กิตติศักดิ์ ด้วงเอียด 4625006
2.นศพ จาตุรันต์ เจริญสุข 4625011
3 นศพ ธวัชชัย โรจนศิริกูลกิจ 4625042
4 นศพ นพพร วิเชียรบุตร 4625046
5 นศพ เนติกรณ์ ผิวทอง 4625057
6 นศพ ศักดิ์ชัย ณ วังอ่าง 4625109
7 นศพ สิริชัย ธาดาประดิษฐ์ 4625114
ประวัติ
Patient Profile : ผู้ป่วยชายไทยอายุ 17 ปี นักเรียนวิทยาลัยอาชีวศึกษาแห่งหนึ่งในจังหวัดสงขลา
Chief Compliant : ถูกแทงบริเวณชายโครงขวาล่างมา 30 นาทีก่อนมาโรงพยาบาล
Present Illness : 30 นาทีก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยและพวกทะเลาะกับกลุ่มคู่อริ มีการใช้อาวุธ ผู้ป่วยถูกแทงด้วยมีดยาวเข้าบริเวณชายโครงขวาล่าง 1 ครั้งและบริเวณแขนขวา 1 ครั้ง และถูกกระแทกด้วยของแข็งอย่างแรงที่บริเวณหน้าท้องจนผู้ป่วยล้มลง มีเลือดออกที่บริเวณแขนขวาและบริเวณชายโครงขวาล่างตรงตำแหน่งที่ถูกแทง ไม่หมดสติ เพื่อนจึงรีบนำส่งโรงพยาบาล
Past History : เคยประสบอุบัติเหตุล้มรถจักรยานยนต์และได้รับวัคซีนป้องกันบาดทะยักเมื่อ 4 เดือนก่อน ประวัติอย่างอื่นไม่มีนัยสำคัญ
Physical examination : Vital signs BT 37.1 C ,RR 20/min ,PR 80/min,BP 100/70 mmHg
GA - a young Thai man , good consciousness E4V5M6
HEENT - not pale , no jaundice
Heart - normal s1 s2 , no murmur
Lung - laceration wound 4 cm with active bleeding at right lower chest , right lung decrease breath sound, no wheezing , no crepitation
Abdomen : mild distension , soft ,active bowel sound
Extremities- laceration wound 4 cm at right arm with active bleeding, no edema
Neurological exam – normal
Management : หลังซักประวัติและตรวจร่างกาย และการดูแลเบื้องต้นที่ห้องฉุกเฉิน แพทย์สงสัยว่าอาจมี intraperitoneal free fluid จึงทำ FAST (focus abdominal sonography in trauma) พบว่ามี intraperitoneal free fluid จึงทำการ set OR for laparoscope
Problem : การทำ FAST สามารถวินิจฉัยภาวะ intraperitoneal free fluidในผู้ป่วย blunt abdominal trauma ได้เทียบเท่าการทำ DPL(diagnostic peritoneal lavage) ทำให้ช่วยลดการทำ DPLลงได้หรือไม่ ?
P : ผู้ป่วย blunt abdominal trauma
I : FAST
C: DPL
O: ลดอัตราการทำ DPL
ประเภทคำถาม : Diagnostic trial
แนวทางการค้นหาข้อมูล
web based resourceที่เลือกใช้ : Cochrane Collaboration และ Pub med โดย link จาก ebfm50.blogspot.com
1. Pub med :
-ไปที่ Mesh database
- ใส่คำว่า Diagnostic peritonael lavage ในช่อง search
- เลือกเครื่องหมายถูกหน้า Peritoneal lavage
- กด search box with and
- ใส่คำว่า Blunt injury
- เลือกเครื่องหมายถูกหน้า ultrasound และ blood
- กด Pubmed search
- เลือก Limit : Human, English, Free full text, และ Meta-analysis พบว่าไม่มี articles ที่เกี่ยวข้อง
- เลือก Limit : Human, English และ Free full text พบว่ามี 7 articles ที่เกี่ยวข้อง
2. Cochrane library :
- เลือก Cochrane reveiws ในช่อง search
- search term ตามลำดับ ดังนี้
“ FAST พบว่ามีจำนวน 47 articles ที่เกี่ยวข้อง ”
“ FAST AND DPL พบว่าไม่มี articles ที่เกี่ยวข้อง ”
“ DPL AND ultrasound พบว่ามี 1 articles ที่เกี่ยวข้อง ”
และจากจำนวน articles ทั้งหมด ทางกลุ่มได้ทำ Critical appraisal ได้ article ที่เลือก คือ
Emergency ultrasound-based algorithms for diagnosing blunt abdominal trauma
โดย Stengel D, Bauwens K, Sehouli J, Rademacher G, Mutze S, Ekkernkamp A, Porzsolt F
ตีพิมพ์ที่ The Cochrane Collaboration, currently published in The Cochrane Database of Systematic Reviews 2007 Issue 3
หมายเหตุ เนื่องจากทางกลุ่มไม่มีแบบฟอร์ม Critical appraisal ของ Systematics review of diagnostic trial ทางกลุ่มจึงทำการ search และหลังจากประชุมทางกลุ่มได้เลือกแบบฟอร์มของ คณะกรรมการเวชศาสตร์เชิงประจักษ์ ปรับปรุงจาก JAMA 1994, 272.1367-71 และ Critical Appraisal Skills Programme (CASP), Public Health Resource Unit, Institute of Health Science, Oxford.
Full text ที่ได้เป็น PDF file ได้ attach file ไปยังเมลล์ อ หทัยทิพย์, วรธิมา, สุภาวรรณ,ฐานกุล
Evidence Based Medicine in Hatyai Hospital,Thailand: THEPA GUYS
รายชื่อสมาชิกในกลุ่ม Thepha guys
1 นศพ. กิตติศักดิ์ ด้วงเอียด 4625006
2.นศพ จาตุรันต์ เจริญสุข 4625011
3 นศพ ธวัชชัย โรจนศิริกูลกิจ 4625042
4 นศพ นพพร วิเชียรบุตร 4625046
5 นศพ เนติกรณ์ ผิวทอง 4625057
6 นศพ ศักดิ์ชัย ณ วังอ่าง 4625109
7 นศพ สิริชัย ธาดาประดิษฐ์ 4625114
ประวัติ
Patient Profile : ผู้ป่วยชายไทยอายุ 17 ปี นักเรียนวิทยาลัยอาชีวศึกษาแห่งหนึ่งในจังหวัดสงขลา
Chief Compliant : ถูกแทงบริเวณชายโครงขวาล่างมา 30 นาทีก่อนมาโรงพยาบาล
Present Illness : 30 นาทีก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยและพวกทะเลาะกับกลุ่มคู่อริ มีการใช้อาวุธ ผู้ป่วยถูกแทงด้วยมีดยาวเข้าบริเวณชายโครงขวาล่าง 1 ครั้งและบริเวณแขนขวา 1 ครั้ง และถูกกระแทกด้วยของแข็งอย่างแรงที่บริเวณหน้าท้องจนผู้ป่วยล้มลง มีเลือดออกที่บริเวณแขนขวาและบริเวณชายโครงขวาล่างตรงตำแหน่งที่ถูกแทง ไม่หมดสติ เพื่อนจึงรีบนำส่งโรงพยาบาล
Past History : เคยประสบอุบัติเหตุล้มรถจักรยานยนต์และได้รับวัคซีนป้องกันบาดทะยักเมื่อ 4 เดือนก่อน ประวัติอย่างอื่นไม่มีนัยสำคัญ
Physical examination : Vital signs BT 37.1 C ,RR 20/min ,PR 80/min,BP 100/70 mmHg
GA - a young Thai man , good consciousness E4V5M6
HEENT - not pale , no jaundice
Heart - normal s1 s2 , no murmur
Lung - laceration wound 4 cm with active bleeding at right lower chest , right lung decrease breath sound, no wheezing , no crepitation
Abdomen : mild distension , soft ,active bowel sound
Extremities- laceration wound 4 cm at right arm with active bleeding, no edema
Neurological exam – normal
Management : หลังซักประวัติและตรวจร่างกาย และการดูแลเบื้องต้นที่ห้องฉุกเฉิน แพทย์สงสัยว่าอาจมี intraperitoneal free fluid จึงทำ FAST (focus abdominal sonography in trauma) พบว่ามี intraperitoneal free fluid จึงทำการ set OR for laparoscope
Problem : การทำ FAST สามารถวินิจฉัยภาวะ intraperitoneal free fluidในผู้ป่วย blunt abdominal trauma ได้เทียบเท่าการทำ DPL(diagnostic peritoneal lavage) ทำให้ช่วยลดการทำ DPLลงได้หรือไม่ ?
P : ผู้ป่วย blunt abdominal trauma
I : FAST
C: DPL
O: ลดอัตราการทำ DPL
ประเภทคำถาม : Diagnostic trial
แนวทางการค้นหาข้อมูล
web based resourceที่เลือกใช้ : Cochrane Collaboration และ Pub med โดย link จาก ebfm50.blogspot.com
1. Pub med : -ไปที่ Mesh database
- ใส่คำว่า Diagnostic peritonael lavage ในช่อง search
- เลือกเครื่องหมายถูกหน้า Peritoneal lavage
- กด search box with and
- ใส่คำว่า Blunt injury
- เลือกเครื่องหมายถูกหน้า ultrasound และ blood
- กด Pubmed search
- เลือก Limit : Human, English, Free full text, และ Meta-analysis พบว่าไม่มี articles ที่เกี่ยวข้อง
- เลือก Limit : Human, English และ Free full text พบว่ามี 7 articles ที่เกี่ยวข้อง
2. Cochrane library :
- เลือก Cochrane reveiws ในช่อง search
- search term ตามลำดับ ดังนี้
FAST พบว่ามีจำนวน 47 articles ที่เกี่ยวข้อง
FAST AND DPL พบว่าไม่มี articles ที่เกี่ยวข้อง
DPL AND ultrasound พบว่ามี 1 articles ที่เกี่ยวข้อง
และจากจำนวน articles ทั้งหมด ทางกลุ่มได้ทำ Critical appraisal ได้ article ที่เลือก คือ
Emergency ultrasound-based algorithms for diagnosing blunt abdominal trauma
โดย Stengel D, Bauwens K, Sehouli J, Rademacher G, Mutze S, Ekkernkamp A, Porzsolt F
ตีพิมพ์ที่ The Cochrane Collaboration, currently published in The Cochrane Database of Systematic Reviews 2007 Issue 3
หมายเหตุ เนื่องจากทางกลุ่มไม่มีแบบฟอร์ม Critical appraisal ของ Systematics review of diagnostic trial ทางกลุ่มจึงทำการ search และหลังจากประชุมทางกลุ่มได้เลือกแบบฟอร์มของ คณะกรรมการเวชศาสตร์เชิงประจักษ์ ปรับปรุงจาก JAMA 1994, 272.1367-71 และ Critical Appraisal Skills Programme (CASP), Public Health Resource Unit, Institute of Health Science, Oxford.
Full text ที่ได้เป็น PDF file ได้ attach file ไปยังเมลล์ อ หทัยทิพย์, วรธิมา, สุภาวรรณ,ฐานกุล
21/07/2007
ภารกิจสาวงาม นะจ๊ะ.....จะนะ ^_^
Assignment II - จะนะส่งงานแล้วค่ะ
21 กรกฏาคม 2550 by “จะนะ นะจ๊ะ girl”
รายชื่อสมาชิกในกลุ่ม
1. นศพ.กนกทิพ ทองผ่อง รหัสนักศึกษา 4625001
2. นศพ.ชไมพร อังสุภานิช รหัสนักศึกษา 4625017
3. นศพ.ฐานกุล สุวพณิชพันธ์ รหัสนักศึกษา 4625022
4. นศพ.ปาลิตา บัวทอง รหัสนักศึกษา 4625063
5. นศพ.ไพพรรณ ศิริพร รหัสนักศึกษา 4625073
6. นศพ.วรธิมา อธิกพันธุ์ รหัสนักศึกษา 4625089
7. นศพ.ศิริลักษณ์ หนูขาว รหัสนักศึกษา 4625108
ประวัติโดยย่อ
case เด็กชายไทย อายุ 3 ปี มีน้ำมูกใส ปริมาณไม่มาก ไม่ไอ ไม่เจ็บคอ ไม่มีไข้มา 3 วัน โดย 1 วันก่อนมารพ. มีน้ำมูกสีขาวเหลือง ปริมาณมากขึ้น คัดจมูก เริ่มมีไข้ต่ำ ๆ ไอ เสมหะเล็กน้อย ยังทานอาหารได้ดี ไม่ได้ไปรักษาที่ใดมาก่อน
ตรวจร่างกาย: mild injected pharynx, lymph node can’t palpable .Lung – clear, no crepitation. others-WNL Diagnosis : common coldTreatment : paracetamol , CPM
Problem :
การให้ vitamin C สามารถช่วยรักษาcommon cold ในเด็กวัยpre- schoolได้เร็วขึ้นหรือไม่
PICO :
P : เด็กวัย preschool ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็น common cold
I : การให้vitamin C
C : placebo
O : สามารถรักษา common cold ได้เร็วขึ้น
ประเภทคำถาม : Treatment trial
แนวทางการค้นหาข้อมูล
web based resourceที่เลือกใช้ : Cochrane library และ Pub med
search term : “vitamin C” and “common cold”
1. Cochrane library :
-เข้าไปที่ http://www.cochrane.org/
-ใช้ search terms ว่า “vitamin C” and “common cold”
-ตอนแรกใช้ whole site พบ 24 articles
-เลือก cochrane reviews พบ 15 articles
2. Pub med :
-เข้าไปที่ http://www.ncbi.nlm.nih.gov/sites/entrez?db=pubmed
-ไปที่ Mesh database เลือก vitamin C ใช้ mesh term คำว่า ascorbic acid
-เลือกที่ search box with and แล้วเลือก common cold ใช้ mesh term คำว่า common cold เลือกที่ search box with and เลือก pubmed search
-พบ 226 articles
- Limit : ตอนแรกเลือก linked to free fulltext,English language,published in 5 years, human, core clinical journals, review, preschool(2-5yrs) ไม่พบ articles
-จึงใช้ limit : เลือก linked to free fulltext,English language,published in 10 years, human, clinical trial+meta analysis+RCT+review พบ 3 articles เป็นประเภท reviews 2 atricles
articles ที่เลือกคือ
"Vitamin C for preventing and treating the common cold"
by RM Douglas, H Hemilä, E Chalker, B Treacy
Wiley interscience
This is a reprint of a Cochrane review, prepared and maintained by The Cochrane Collaboration and published in The Cochrane Library
2007, Issue 3
สาวระโนดส่งงานค่ะ
ชื่อกลุ่ม โรงพยาบาลระโนด วันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2550
สมาชิก
1. นศพ.ขวัญชนก ลือวีระวงษ์ รหัสนักศึกษา 4625010
2. นศพ. นิชา จันทมณี รหัสนักศึกษา 4625052
3. นศพ. ปาณฉัตร ดำเกลี้ยง รหัสนักศึกษา 4625062
4. นศพ. ฟ้าใส ภักดิกมล รหัสนักศึกษา 4625074
5. นศพ. วาริตา บุญจงเจริญ รหัสนักศึกษา 4625097
6. นศพ. สุภาวรรณ ตันติหาชัย รหัสนักศึกษา 4625117
ประวัติผู้ป่วย Patient profile ผู้ป่วยหญิงไทยคู่ อายุ 32 ปี
C.C. : มีเลือดออกทางช่องคลอดประมาณ 6 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล
P.I. : 4 เดือนก่อน ขาดประจำเดือนจึงคิดว่าตั้งครรภ์ แต่ไม่ได้ฝากครรภ์
6 ชั่วโมงก่อน มีอาการปวดท้องน้อยหน่วงๆ ปวดมากขึ้นเรื่อยๆ และมีเลือดออกทางช่องคลอด ไม่แน่ใจว่ามีชิ้นเนื้อหลุดปนออกมาด้วยหรือไม่
OB&GYN history : G2P1A0 GA 16 wks , ครรภ์ที่1 Term , NL , BW 2920 gm
P.E. : V/S BT 37.3 BP 120/80 PR 78/min RR 20/min
GA : Good consciousness , not pale , no icteric sclera
H&L : WNL
Abd : Mild tenderness at suprapubic area , soft , FH just palpable
PV : MIUB normal
Vagina bloody show
Cervix os open 2 cm , bleeding per os , no tenderness on cervical motion
Uterus slightly enlarged
Adnexae no mass
Investigation : CBC Hb 11.2 Hct 34.4 Wbc 7,500 Plt 355,000 Neu 72 Lym 25 Eo 2
Problem list : First half bleeding in pregnancy
Plan for diagnosis : TVS
Diagnosis : Incomplete abortion
Management : D & C
คำถามทางคลินิก
P : หญิงตั้งครรภ์อายุ 32 ปี GA 16 wk. มีเลือดออกทางช่องคลอด สงสัยว่าเป็น Incomplete abortion
I : Transvaginal sonography
C : ผล Pathology ของชิ้นเนื้อที่ได้จากการ D&C
O : การวินิจฉัย Incomplete abortion
Clinical Problem : หญิงตั้งครรภ์อายุ 32 ปี GA 16 wk. ที่มีเลือดออกทางช่องคลอด การวินิจฉัย Incomplete abortion ด้วย TVS จะมีความแม่นยำ ( specificity) เพียงใด
ประเภทของปัญหาทางคลินิก : Diagnostic test
แนวทางการค้นหาข้อมูล
Searchable question : Transvaginal sonography มีความแม่นยำ ( specificity) ในการวินิจฉัย Incomplete abortion เพียงใด
Web-based resources
http://www.ncbi.nlm.nih.gov/sites/entrez/
- MeSH database : Incomplete abortion and Transvaginal sonography and specificity
จำนวน articles ที่ปรากฎ 8
จำนวน articles ที่เกี่ยวข้อง 4
- MeSH database : Incomplete abortion and Transvaginal sonography
จำนวน articles ที่ปรากฎ 20/56
จำนวน articles ที่เกี่ยวข้อง 3
http://www.cochrane.org/index.htm
- Incomplete abortion
จำนวน articles ที่ปรากฎ 0
- Transvaginal sonography
จำนวน articles ที่ปรากฎ 0
http://ebm.bmj.com/
- Incomplete abortion
Transvaginal sonography
จำนวน articles ที่ปรากฎ 0
ชื่อ articles ที่เลือกอ่านเพื่อตอบปัญหาทางคลินิก
ชื่อเรื่อง : Role of sonography in the diagnosis of retained products of conception.
ชื่อผู้แต่ง : Sadan O, Golan A, Girtler O, Lurie S, Debby A, Sagiv R, Evron S, Glezerman M.
ชื่อวารสาร : J Ultrasound Med : 371-374
ปีที่พิมพ์ : Mar 2004
20/07/2007
จากสาวระโนด ถึงอาจารย์
http://www.ncbi.nlm.nih.gov/sites/entrez/
MeSH database : Incomplete abortion and ultrasound
articles ทั้งหมดที่หาได้คือ 56 articles แต่สามารถเปิดได้แค่ 20 articles ซึ่งมี articles ที่เกี่ยวข้องจำนวน 3 articles ใน 20 articles
3 articles ที่หาได้ไม่สามารถเปิด full text ได้เลย
http://www.cochrane.org/index.htm
หาคำว่า Incomplete abortion และ Transvaginal sonography ไม่พบ article
###อีกปัญหาคือ solomon ใช้งานได้ไม่นาน ทำให้ไม่สามารถหางานได้อย่างต่อเนื่อง
To สาวระโนด
To สาวสาวนะจ๊ะ
TO THEPA GUYS
FROM PATTAYA
ขอถามเรื่อง EBM จากสาวระโนดค่า
เรื่องมันมีอยู่ว่า หลังจากหนูได้คำถามทางคลินิกที่เป็นเรื่องเกี่ยวกับการ diagnosis แล้ว ก็ได้ทำการ search ข้อมูล paper ก็พบว่า มีเหตุการณ์ที่ไม่คาดฝันเกิดขึ้น คือ มี paper ที่เกี่ยวข้องอยู่ประมาณ 2-3 อัน โดยไม่มีอันไหนที่เป็น full text เลย และ abstract ก็ไม่มีเนื้อหาส่วนที่จะสามารถตอบคำถามในขั้นตอน clinical apprisal ได้เลยค่ะ แล้วพวกหนูจะทำอย่างไรคะ ช่วยตอบด้วยค่ะ
ป.ล. โซโลมอนที่ระโนด ไม่ค่อยติดค่ะ ทำงานได้บ้างไม่ได้บ้าง แล้วแต่โชคค่ะ ถ้าพรุ่งนี้เกิดไม่ติด หนูจะทำอย่างไรดีคะ...............ขอบคุณค่ะ
เอารูปมาให้ดูกาน...
19/07/2007
นางงามลูกโหนด
อ่ะ เอาใหม่( รอบนี้อารมณ์น้อยกว่าเมื่อกี๊อ่ะ ไม่ได้ใจเรยยย)
“ช่วยอ่านจนจบด้วยนะค๊า”
หลังจากที่เราได้รับตำแหน่งนางงามลูกโหนดพ่วงด้วยขวัญใจประชาชี เราก็ได้ปฏิบัติภารกิจอย่างต่อเนื่อง
การปฏิบัติภารกิจของเราทำให้ความรู้เพิ่มพูนและพรั่งพรูถึงขีดสุด เสมือนเรียนแพทย์เฉพาะทางสาขาต่อยอดแฟมเม็ดกันเลยทีเดียวเชียวนะคะคุณน้องขา
ภารกิจแรกของเรา ขอตั้งชื่อว่า Kwam Hai (คว่ำไห) เป็นภาระกิจที่ต้องตามหาลูกน้ำตัวร้ายตามบ้านของชาวบ้านที่แต่ละหลังห่างกันมากเกินลานกว่าลานสายตาจะมองเห็น (แล้วยุงจะบินถึงมั้ยเนี้ย!!!) แม้แสงแดดจะแผดดดดเผา.......จนผิวนางงามที่ขาวเนียนราวกับแม่แตงร่มใบกลายเป็นนางงามจากอูกันด้า แต่เราก็ไม่ได้ย่อท้อเนี่องจากมีเสียงเรียกร้องจากก้นบึ้งของหัวใจประชาและเมตรเศษ (ไม่เอา เอาสองเมตร) ทำให้เราต้องแบกหน้าปฏิบัติภารกิจต่อไปทั้งเช้า สาย บ่าย เย็น หลังจากเสร็จสิ้นภารกิจนี้ หกสาวงามมีภาวะ severe dehydrate (กินน้ำเป็นถังยังไม่ฉี่เลย) แต่อย่างไรก็ตามเราก็ได้รับใจจากประชาชีอย่างมากมายล้นหลามเลยที่เดียวเชียว วันรุ่งขึ้นเสียงเรียกร้องจากประชาชนที่รักยังหนาแน่น ทำให้เหล่าสาวงามตระหนักถึงความจำเป็นในการกำจัดลูกน้ำยุงลายอีกครั้ง แต่ทางกลุ่มได้จัดสรรทรัพยากร(ความงาม)ที่มีอยู่อย่างจำกัดออกไปเผชิญกับแสงแดดเพียงสองสาวเท่านั้น (นิปป้อน โบว์ ) ส่วนปานกะนิชไปทำหน้าที่รักเด็ก (รึป่าว)(ปู๋ยยยยรากกกกกกเด็กค้า)ไปฉีดวัคซีนให้น้องปอหนึ่งกับปอหก นางงามของเรายังคงได้ใจจากเด็กอีกแล้วเด็กมาเข้าคิวรอฉีดยากันยาวเหยียดจนพี่หมอมือสั่นกันเลยทีเดียว อย่าสงสัยว่าหนิงกับฟ้าใสไป admit for rehydrate อยู่หรือป่าว ไม่คะ สองสาวของเราแกร่งกว่านั้น ป้าหนิงและฟ้าใสได้กวาดราววอร์ดตั้งในโรงบาลยันนอกโรงบาล ภาระกิจนี้หนักอึ้งยิ่งนักขนาดที่ทำให้ป้าหนิงต้องกินขาวเป็นสามเท่าของที่เคยกินและนอนเป็นสองเท่าของที่เคยนอน (เข้าใจใช่มั้ยว่ามันเหนื่อยแค่ไหน) แค่นี้ก่อนแล้วกันสาวงามจะต้องไปอบซาวน่าแบบธรรมชาติก่อนนะ
ปล.1 คิดถึงเพื่อนๆทุกคนน๊า ที่ไม่อัพไม่ใช่เพราะไม่คิดถึงแต่สัญญาณไม่เป็นใจ (สงสัยต้นโหนดบัง)และถึงแม้ Solomon ของเราจะมีจำนวนเป็น 2x ของกลุ่มอื่นแต่ประสิทธิภาพของมันช่างเหนือคำบรรยาย
ปล.2 ถึงจาตุ๊ที่รัก ตลาดของเธอใหญ่มากกกกกกกกกก สดมากกกกกกกกกก นะจ๊ะ
ปล. 3 พวกเราอยู่ในดงงูเห่า ช่างดูเป็นสาวที่มีความงามและมีพิษอะไรอย่างเนี้ย
ปล.4 ตอนนี้ภาวะท้องผูกระบาดในหมู่นางงาม เป็นภาวะที่สร้างความหนัก..ตื๊ด..ให้กับเรามาก ใครที่จะมาเยี่ยมชมและสัมผัสถ่ายรูปเหล่าสาวงามอย่างใกล้ชิด กรุณานำอาหารที่มีกากกกกกกกกใยไฟเบอร์มาด้วย เพราะพวกเรากินผักชีวันละ 3 ต้นเท่านั้นและเราก็ค้นพบแล้วว่าลูกโหนดไม่มีกากกกกกก
ปล. 5 ถึงพี่หลวง ขี้ฮกเบเบ๊ขี้ฮกตาลาลา ฮี้วววววววว
พี่หลวงจะมากไปแล้ว กลับไปมีเคลียร์(โบว์)
Me too (นู๋นิป)
ปล.6 รูป อัพเดทของเรามีมากมายแต่ด้วยความแรงของ Solomon ทำให้เราไม่สามารถโพสได้
....รักนะ จุ๊บๆ จบจริงๆๆ...
นางงามลูกโหนด
ไม่ใช่เราไม่คิดถึงเพื่อนๆนะ แต่เราได้พยายามแล้ว ก็พยายามอยู่นั่นโซโลมอนไม่เคยเป็นใจกับเราเลย โซโลมอนอยู่ก็เพียงแค่ตัว แต่หัวจายยยของโซโลมอนอยู่ไหน ใครช่วยบอกที
โอ๊ยยเครียด
เรื่องเล่า..สาวจะนะ
เป็นการดูแลผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องหลังจาก..ออกจากโรงพยาบาลจะนะแร้ว
ซึ่งผู้ป่วยที่พวกเราไปเยี่ยมมีด้วยกัน 3 case ได้แก่ ผู้ป่วย CVA ,co-morbid HT
และ completed cord จาก MCA ทำให้พวกเรา ได้มีโอกาสนำข้อมูลที่เรียนมานำไปใช้จริงในวันนี้...
(วิชาการเชียว) (มีสาระเหมือนดาวเรย)
ส่วนตอนบ่าย ก็ไปที่บ้านสะพานไม้แก่น ไปบ้านหมอ...
ซึ่งสอนให้เราเรียนรู้เรื่องยาสมุนไพร และการรักษาแบบแพทย์พื้นบ้าน
ก็สนุกไปอีกแบบในการออกชุมชน...
หวังว่าเพื่อนคงมีความสุขกะโรงพยาบาลชุมชนนะ
ป.ล. วันนี้ร้อนมากท่าทางฝนจะตกนะ
18/07/2007
L O V E Letter from Thepa guys
พวกเรามาถึงเทพาหลายวันแล้ว แต่ไม่ได้เข้า blog เลยเพราะเน็ทช้ามากและสัญญาณมือถือไม่ดีนัก การใช้ solomon จึงมีข้อจำกัด แต่อยู่นี่ก็เงียบสงบดีมากกกกกกกก พี่ใจดีกันทุกคน อยู่นี่ได้ตรวจคนไข้มากมาย ทำให้รู้สึกภูมิใจกับความพากเพียรที่เรียนมาตั้งหลายปี อยู่นี่ได้นำมาใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่ ....... อืม...... ทีแรกกะว่าจะเขียน ขำๆ ไร้สาระ กลายเป็นเรื่อง serious ไปซะแล้ว ได้เยี่ยมบ้านบ้างแล้ว มี case น่าสนใจเยอะเหมือนกัน ตอนเย็นพวกเรา(รวมทั้งคุณติส)ได้เล่นกีฬากับพี่หมอและพี่ๆเจ้าหน้าที่ที่นี่ด้วย มีสนามกีฬาและอุปกรณ์หลายอย่างเลย เช่น ฟุตบอล วอลเลย์ บาส ตะกร้อ ริบบิ้น เอ้ย !! อันหลังนี่ไม่เกี่ยว เอาล่ะ เดี๋ยวมีอะไรน่าสนใจจะส่งเขียนมาเล่าอีก
Hope you will be Lucky and have a good time
P.S. short messege from Thepa guys
from จาตุ๊ ถึง ชีนก : ชี ศุกร์หน้าวงดนตรีของเราพร้อมแสดง คิดถึงนะจ๊ะ เดี๋ยวจะแบ่งของดี (...)จากที่นี่ไปให้
from พี่หลวง ถึง หนูนิป : อาการเป็นไงมั่ง ช่วงนี้เราหายสนิทแล้วนะ เย้เย้
from สด ถึง โบว์ : รักนะ เด็กโง่ อิอิ
17/07/2007
ชีวิตในรพช.
ขอให้มีความสุขกับการฝึกงานที่ รพช นะคะ ช่วงชีวิตที่นั่นจะเป็นประสบการณ์ที่น้องๆสามารถนำไปใช้ได้จริงเมื่อจบไปเป็นแพทย์แล้ว ขอให้ตั้งใจตักตวงประสบการณ์จากพี่ๆแพทย์ หมั่นซักถามพูดคุย พี่มั่นใจว่าพี่ๆที่นั่นทุกคนยินดีจะตอบคำถามน้องๆค่ะ วันศุกร์นี้ อาจารย์จะลงไปเยี่ยมน้องๆที่ รพชมีสิ่งใดที่อยากจะได้ เช่นอุปกรณ์ ที่ที่นั้นไม่มี ก็แจ้งมาได้ค่ะ
Hathitip
16/07/2007
ดูสาวสาวนะจ๊ะ(ต่อ)
"จะนะ...รายงานตัวค่ะ"
มาถึงก็เกือบเที่ยงแร้วละค่ะ..หิวมากกกกก...แต่พวกเราก็ไม่ย่อท้อที่เราจะสวยต่อไปอย่างไม่หยุดยั้ง
ไม่ทราบว่าเพื่อนๆ ที่อื่นจะเป็นอย่างไรบ้าง???...เล่าเรื่องราวที่ไม่คาดฝันต่างๆ มาให้พวกเราฟังบ้างนะ
สาวๆ ระโนด : เจอลูกโหนดวัวดูดกันรึยัง??? ขอเตือนนะฮ้า...อย่าไปเดินกลางทุ่งนะ เด๋ววัวดูด!!พวกผู้ชาย(นะยะ)เทพา : แปลงผักไปถึงไหนแร้ว ไก่ทอดอร่อยมั้ย?? (มา-แกฮ์-ไก่-ทอด-ซือ-ด๊ะห์-เดาะห์)
13/07/2007
เฉลย formulate answerable question
You see a 50 year old man who asks for a repeat prescription of sotalol which he has been taking for extrasystoles for several years. He has a remote history of an MI. You haven't seen him previously and are concerned about the proarrhythmic properties of sotalol given what is known about other antiarrhythmics.
¨What clinical questions could you ask?
¨Patient or Problem: Man with extrasystoles
¨Intervention: Sotalol
¨Comparison Intervention: Placebo
¨Outcome: Death
Question: In a man with extrasystoles and a remote history of MI, does treatment with sotalol increase his risk of death?
เฉลย formulate answerable question
You admit a 75 year old woman with community-acquired pneumonia. She responds nicely to appropriate antibiotics but her hemoglobin remains at 100 g/l with an MCV of 80. Her peripheral blood smear shows hypochromia, she is otherwise well and is on no incriminating medications. You contact her family physician and find out that her Hgb was 105 g/l 6 months ago. She has never been investigated for anaemia. A ferritin has been ordered and comes back at 10 mmol/l. You admit to yourself that you're unsure how to interpret a ferritin result and aren't sure how precise and accurate it is.
¨What clinical questions could you ask?
¨Patient or Problem: Elderly woman with anemia
¨Intervention: Ferritin
¨Comparison Intervention: ---
¨Outcome: Iron deficiency anemia
Question: In an elderly woman with hypochromic, microcytic anemia, can a low ferritin diagnose iron deficiency anemia?
เฉลย formulate answerable question
You see a 70 year old man in your outpatient clinic 3 months after he was discharged from your service with an ischemic stroke. He is in sinus rhythm, has mild residual left-sided weakness but is otherwise well. His only medication is ASA and he has no allergies. He recently saw an article on the BMJ website describing the risk of seizure after a stroke and is concerned that this will happen to him.
¨What clinical questions could you ask?
¨Patient or Problem: 70 year old man
¨Intervention: Stroke
¨Comparison Intervention: ---
¨Outcome: Seizure
Question: In a 70 year old man does a history of stroke increase his risk for seizure?
เฉลย formulate answerable question
You admit a 75 year old man with a stroke (left sided weakness) who is having trouble ambulating, feeding, bathing and dressing himself. He has hypertension but it is well controlled with a diuretic. He is otherwise well and now that he is medically stable you decide after discussion with him to transfer him to a stroke unit. His family asks to see you because they are concerned about this transfer. They live very close to the acute care hospital and wonder why he can't stay on the general medical ward where he currently is. You arrange to meet with him and his family to discuss their concerns. In the meantime, you decide to review the evidence for the use of stroke units.
¨What clinical questions could you ask?
¨Patient or Problem: 75 year old man with a stroke and residual weakness
¨Intervention: Admission to a stroke unit
¨Comparison Intervention: General care
¨Outcome: Functional status
Question: In an elderly man with a stroke, does admission to a stroke unit decrease the risk of death and dependency? Note: there are other variations of this question; we could have asked about a different outcome such as death.
formulate answerable
1.TherapySystematic Review - clinical scenario describes an elderly patient with a stroke who gets admitted to a stroke unit
2.Prognosisclinical scenario describe a patient with a stroke who is worried about his risk of seizure
3.Diagnosisclinical scenario describes a patient with possible iron deficient anemia
4.Harmclinical scenario describes a patient with extrasystoles who is taking sotalol
10/07/2007
Evidence Based Medicine in Hatyai Hospital,Thailand: Assignment I
Diagnosis นศพ.นพพร
ผู้ชายไทยอายุ 75 ปี
Chief complaint: ปัสสาวะขัด 1 สัปดาห์
Present illness: 1 สัปดาห์ ก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยมีปัสสาวะแสบขัดและลำบาก ปัสสาวะบ่อย โดยมี
ปัสสาวะกลางคืน 5 ครั้ง ไม่มีไข้ อุจจาระปกติดี ผู้ป่วยมีความอยากอาหารปกติ ไม่มีน้ำหนักลดลงผิดปกติ ไม่มีอาการ bone pain
Past illness: - no underlying diseases
- ไม่มีประวัติโรคพันธุกรรมในครอบครัว
- เคยมารับการรักษาด้วย UTI 3 ครั้งก่อนหน้านี้
Physical examination:
GA: good consciousness
HEENT: not pale conjunctiva, no jaundice
Heart and Lungs: WNL
Abdomen: soft, not tender, no mass, liver and spleen can’t be palpated
Ext.: normal tone, no bruise
PR: Slightly enlarged smooth prostate, other within normal limit
LAB.
PSA: normal
Dx. BPH
Problem: เมื่อใช้ Prostate-specific antigen (PSA) จะสามารถวินิจฉัยแยกโรคระหว่าง BPH และ Prostate cancer ได้ดีเทียบเท่ากับ ผลการตัดชิ้นเนื้อ
09/07/2007
EBM ศักดิ์ชัย
Chief complaint : มีไข้ ไอ และหอบเหนื่อยมา 3 วันก่อนมา รพ.
Present illness : 3 วัน ก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยมีไข้ มารดาให้ทานยาลดไข้ อาการดีขึ้นเล็กน้อย หลังจากนั้นก็มีอาการไอและมีหอบเหนื่อย กินยาลดไข้และยาแก้ไอ อาการไม่ดีขึ้นจึงมา รพ.
Past history - ปฏิเสธประวัติโรคประจำตัวใดๆ
- ปฏิเสธประวัติการแพ้ยาแพ้อาหาร
Review of system: ไม่มีความผิดปกติในระบบอื่นๆ ของร่างกาย
Physical Examination :
GA : good consciousness , look dyspnea
HEENT : not pale, no jaundice
Lungs : crepitation both lung
ปัญหา :สามรถใช้ Chest x-ray เพื่อบอกว่าเป็น pneumonia ที่เกิดจากเชื้อ bacteria หรือ virus ได้หรือไม่
ศักดิ์ชัย ณ วังอ่าง
...ร่วมด้วยช่วยกันนะ พี่น้อง ..สงสารเด็กน้อยตาดำๆ นะก้าช่วยมาเม้น กันนะค้า~
Case หญิงไทยคู่ อายุ 23 ปี G1P0A0, GA 41 weeks by LMP
CC : 6 hr PTA Labor pain
First anc GA 28 สัปดาห์ ฝากครรภ์ 7 ครั้ง no complication during pregnancy,deny Hx.STD,deny underlting disease
PE : Vital signs: BT 36.8 c, BP 100/60 mmHg, PR 70 /min, RR 20 /min
Weight 60.5 kg, height 151 cm FH 3/4 above umbilicus, vertex, OL
Uterus Contraction: Interval 3 min 20 sec, Duration 40 seconds, Intensity 2+, FHR 140 bpm with regular rhythm
PV (Cervix): Soft consistency, dil 2 cm, eff 70%, station -2, MI
LAB: Hct 37 %, urine albumin-ve, urine sugar –ve, Anti-HIV NR, VDRL NR, HBsAg –ve, OF / DCIP -ve
สำหรับผู้ป่วยรายนี้ เป็น true labor pain จัดว่าอยู่ใน latent phase ได้ทำ Non-stress test ผลที่ได้ คือ reactive และไม่พบ late deceleration แสดงว่าไม่มีภาวะ fetal distress หรือ fetal asphyxia จึงไม่มีภาวะเร่งด่วน ที่ต้องเร่งคลอด
แต่มีความเสี่ยงที่จะเกิด fatal distress ได้จาก near post term จึงมี active management ในผู้ป่วยรายนี้ ได้ ARM (clear) และให้ Oxytocin PV Cx dil 3 cm Eff 80% station 0, Bishop score เท่ากับ 7 เริ่มเปลี่ยนแปลงเข้าระยะ active phase ใน 5 ชั่วโมงต่อมา PV อีกครั้ง Cx dil 4 cm Eff 100% station 0 ดังนั้นใช้เวลา 15 ชั่วโมงใน latent phase
หลังจากนั้นผู้ป่วยมีปัญหาเรื่อง contraction คือมี Interval 1 min 40 sec, duration 45 sec จึงหยุด oxytocin และติดตาม contraction พบว่ามี Interval 2 min 50 sec, duration 45 sec ตลอด
PV อีกครั้ง Cx dil 9 cm effacement 100% station +1 อีกเมื่อเวลา 24.30 น.และไม่มีการพัฒนาจนถึงเวลา 03.00 น. รวมเป็นเวลา 2 ชั่วโมง 30 นาที ซึ่งจัดว่ามีภาวะ “ Secondary arrest of dilatation ” (เกณฑ์ใน nulliparas > 2 hr.)
จากทั้งหมดนี้เอง แพทย์จึงสรุปว่า ในผู้ป่วยรายนี้สมควรที่จะใช้วิธีการคลอด ด้วยวิธีการผ่าตัดเปิดทางหน้าท้อง (Cesarean section)
ปัญหามานอยู่ที่ว่ารู้ได้ไงล่ะ ว่าผุ้ป่วยเป็น CPD ทั้ง ๆ ที่ไม่เคยตรวจ Pelvic inlet , pelvic outlet กันเรย ~ ได้ยินว่าที่มอ.เค้าใช้ clinical practice guildline มันเป็นหยังก๊ะ...แล้วมานแน่นอนแค่ไหนนะ ใครรู้ช่วยชี้แจงแถลงไขหน่อยนะค้า
Evidence Based Medicine in Hatyai Hospital,Thailand: Evidence Based Medicine in Hatyai Hospital,Thailand: Assignment I
++ ขอเชิญผู้มีจิตศรัทธามาช่วยหนูด้วย อย่าให้ต้องปั๊มกระทู้เองเรยนะค่า ++
Case ผู้ชายไทยอายุ 72 ปี
Admit ด้วย COPD มีอาการหอบเหนื่อยตลอดเวลา ต้อง On tube
มาแล้วประมาณ 1 สัปดาห์ หลังจากพยายามให้หายใจเองแล้ว คิดว่าหายใจเองได้ดี วันนี้จึงคิดที่จะ Off tube หลังจากทำการ Off tube ปรากฏว่าผู้ป่วยมี laryngeal edema
ปัญหาก็คือ สงสัยว่าจะมี Intervention ที่จะให้ผู้ป่วยก่อน off tube เพื่อลด laryngeal edema บ้างหรือไม่
เพราะเคยได้ยินอาจารย์บางท่านพูดว่าอาจให้ methylprednisolone 20 mg IV ก่อนจะ off tube 12 ชม. และให้อีกทุก 4 ชม.จนกระทั่ง offtube ซึ่งจะมีประโยชน์อย่างมีนัยสำคัญจริงหรือไม่
เพราะ ต้องประเมินความคุ้มค่าในการให้ methylprednisolone ซึ่งมีราคาค่อนข้างแพง และสงสัยว่าถ้าให้ Dexamethasone แทนจะได้หรือไม่ เพราะมันถูกกว่ากันมากทีเดียว
THERAPRUTIC CASE: นศพ.วรธิมา อธิกพันธุ์
THERAPEUTIC CASE : นศพ. วรธิมา อธิกพันธุ์
Patient Profile : เด็กชายไทย อายุ 8 ปี
ภูมิลำเนา อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา
Chief Compliant : ประสบอุบัติเหตุทางรถจักรยานยนต์ 1 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล
Present Illness : 1ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล ขณะนั่งซ้อนท้ายจักยานยนต์ ซึ่งบิดาเป็นผู้ขับ ด้วยความเร็วปานกลาง ไม่สวมหมวกกันน็อก กำลังจะเลี้ยวรถเข้าบ้าน มีรถจักยานยนต์อีกคันหนึ่งขับปาดหน้า ทำให้รถล้มลง ทำให้ลำตัวด้านซ้ายของผู้ป่วยกระแทกพื้นรู้สึกปวดแขนซ้าย หัวไม่กระแทกพื้น จำเหตุการณ์ได้ดี มีผู้นำส่ง รพ.หาดใหญ่
Past history : No underlying disease
ปฎิเสธการแพ้ยา แพ้อาหาร
Personal history : ปฏิเสธ การดื่มสุรา / สูบบบุหรี่
ไม่เคยเข้ารับการผ่าตัดมาก่อน
Family history : ทุกคนในบ้านสุขภาพแข็งแรง สมบูรณ์ดี
ไม่มีประวัติโรงติดต่อทางพันธุกรรม
Physical examination :
Vital signs ;BT 37C ,RR 24/min ,PR 80/min,BP 100/70 mmHg GA ; good consciousness E4V5M6 HEENT ;not pale , no jaundice
Heart ; normal s1 s2, no murmur Lung ; normal breath sound Lt. = Rt. , no cripitation
Abdomen ; soft, not tender , no guarding , spleen and liver can’t palpable.
Extremities : Lt. Forearm : no wound
Deformity with dorsol displacement, tender,swelling
Can’t flex or extend wrist due to pain.
Radial and ulnar pulse >> full
Capillary refill < 2 s
Neurological exam – normalManagement : หลังซักประวัติและตรวจร่างกายเบื้องต้น ผู้ป่วยได้รับการ x-ray Lt. forearm AP . Lateral ดังนี้
- Interpretation : transverse with comminuted Fx of distal 1/3 Lt. Radius with dorsal DRUJ dislocation
Didgnosis : Closed Galeazzi fracture Lt. forearm
จากนั้น on posterior long arm slab Lt.
Treatment : ORIF with Plate and screws
Problem : การรักษา Galeazzi Fx ในเด็ก ด้วยวิธี ORIF ได้ผลการรักษาที่ดีกว่าการเข้าเฝือกหรือไม่
P : ผู้ป่วย Galeazzi Fx อายุ ไม่เกิน 15 ปี
I: ORIF
C: การเข้าเฝือก
O: วิธี ORIF ได้ผลการรักษาดีกว่า โดยเฉพาะอย่างยิ่งการรักษา DRUJ stability
Evidence Based Medicine in Hatyai Hospital,Thailand: Assignment I
Therapeutics by นศพ.สุภาวรรณ ตันติหาชัย
PP: หญิงไทย อายุ30ปี G1P0 GA38 wks by LMP
CC: เจ็บท้องคลอดมา1ชั่วโมงPTA
PI: 16 ชั่วโมงPTA สังเกตว่ามีน้ำไหลจากช่องคลอดเปื้อนผ้าถุงจำนวนมาก ไม่มีกลิ่นเหม็น ไม่มีเลือดปนเข้าใจว่าเป็นปัสสาวะ เมื่อเปลี่ยนผ้าถุงแล้วหลังจากนั้นก็ยังมีน้ำไหลซึมๆบ้างเล็กน้อย
1 ชั่วโมง PTA มีอาการปวดท้อง ค่อยๆปวดถี่มากขึ้น ขณะปวดจะมีท้องแข็งเกร็งร่วมด้วยจึงมารพ.
PE:
Vital signs: BT 37.2 c, BP 110/70 mmHg, PR 80 /min, RR 21 /min
Fundal height 3/4 above umbilicus, vertex, OLUterus Contraction: Interval 5 min, Duration 40 seconds, Intensity 2+, FHR 145 bpm with regular rhythm
PV (Cervix): Soft consistency, dilatation 4 cm, effacement 70%, station -2, Membrane rupture
Cough test :negative, Nitrazine test:positive
LAB: Hct 36 %, urine albumin -ve, urine sugar –ve, Anti-HIV NR, VDRL NR, HBsAg –ve, OF / DCIP –ve
เมื่อรับผู้ป่วยไว้ในห้องคลอดก็ได้มีการให้ oxytocin เพื่อให้มดลูกมีการบีบตัวดีขึ้น และเร่งการคลอด ระหว่างนี้ประเมินทารกในครรภ์เป็นระยะ ทารกไม่มีภาวะfetal distress หลังจากนั้นอีกประมาณ 7ชม.ผู้ป่วยก็มีFully dilatation ได้คลอดด้วยวิธีnormal labourได้ทารกเพศชาย แรกคลอดนั้นเด็กมีAPGAR scoreดี แต่ต่อมาอีกประมาณ1ชม. พบว่าเด็กมีไข้ (BT= 38.2) สงสัยภาวะsepsis จึงย้ายเด็กไปNICU
คำถาม : การให้antibiotics ในหญิงตั้งครรภ์ที่มีน้ำเดินมานานมากกว่า18 ชั่วโมง จะช่วยป้องกันภาวะsepsisในทารกแรกเกิดได้หรือไม่
Evidence Based Medicine in Hatyai Hospital,Thailand: Assignment I
นศพ.ชไมพร อังสุภานิช
Case 1 treatment
หญิงไทยคู่ อายุ 24 ปี
CC: เลือดออกทางช่องคลอดมา 4 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล
PI: 4 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล มีอาการเลือดออกทางช่องคลอด ปริมาณเล็กน้อย พอเปื้อนชุดชั้นในไม่มีก้อนเลือดปน ไม่มีเศษชิ้นเนื้อปน ปวดบีบๆบริเวณท้องน้อย จึงเดินทางมาโรงพยาบาล
PH: ปฏิเสธโรคประจำตัว
ปฏิเสธประวัติแพ้ยาแพ้อาหาร
ปฏิเสธการใช้ยาใดๆเป็นประจำ
OB-GYN: G3P1A1 GA 10 wk by LMP
Threaten abortion เมื่อ 1 ปีก่อนขณะตั้งครรภ์ได้ประมาณ 10 week
ลูกคนแรกคลอดปกติ เมื่อ 6 ปีก่อน ไม่มี complication หลังคลอด ปัจจุบันเสียชีวิตจากการติดเชื้อในกระแสเลือด เมื่ออายุ 4 ปี
ปฏิเสธประวัติการทำแท้ง
ประจำเดือนครั้งแรกเมื่ออายุ 12 ปี interval 30 day, duration 3-4 day, ใช้ผ้าอนามัยประมาณ 2 pad/day
แต่งงานเมื่อ 6 ปีก่อน ปัจจุบันไม่ได้คุมกำเนิด ก่อนหน้านี้คุมโดยการรับประทานยาคุมกำเนิด
PE: V/S: BT= 37c BP= 110/70 mmHg PR= 80/min RR= 16/min
GA: good consciousness, not pale, no jaundice
Heart: normal S1 S2, no murmur
Lungs: clear, no adventitious sounds both lungs
Abdomen: soft, not tenderness, no mass, fundal height was not palpable
PV: MIUB: normal
Vagina: normal, no lesion, no mass, old blood clot in vagina
Cervix: os closed, bleeding per os, no lesion, no mass
Uterus: just palpable at pubis symphysis, not tenderness
Adnexa: no mass, not tenderness
Treatment: Admit, Bed rest, Observe bleeding and clinical
Q: ทำไมถึงไม่ให้ Progesterone แก่ผู้ป่วยรายนี้ เพื่อป้องกัน abortion
Case 2: diagnosis
Case study:
ขณะผ่านกองสูติ-นารีเวช พบว่าผู้ป่วยที่มาด้วยอาการ postmenopausal bleeding ทุกคนจำเป็นต้องทำ F&C เพื่อ Rule out CA endometrium
จากการค้นคว้าจากตำรา และจากอาจารย์ผู้สอน ทำให้ทราบว่า สามารถทำ Endometrial biopsy แทนการทำ F&C ได้ โดยสามารถทำได้ที่ OPD เลย
เมื่อเปรียบเทียบระหว่าง F&C and Endometrial biopsy พบว่าการทำ F&C จำเป็นต้องทำภายใต้ anesthesia ใน OR ซึ่งใช้เวลาในการทำค่อนข้างมาก และลำบากในการนัดผู้ป่วย เมื่อเทียบกับการทำ Biopsy ที่สามารถทำได้สะดวก รวดเร็ว ไม่จำเป็นต้องดมยาสลบ ผู้ป่วยกลับบ้านได้เลย
Q: การทำ Endometrial biopsy เมื่อเทียบกับการทำ F&C เพื่อ rule out CA endimetrium แบบใดมีความแม่นยำมากกว่ากัน
DIAGNOSIS CASE : นศพ.วรธิมา อธิกพันธุ์
DIAGNOSIS CASE : นศพ. วรธิมา อธิกพันธุ์
Patient Profile : ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 70 ปี
ภูมิลำเนา อ.สะเดา จ.สงขลา
Chief Compliant : อาเจียนเป็นเลือด 14 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล
Present Illness : 14 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล หลังรับประทานหอย มีอาการอาเจียน ประมาณ
ครึ่งแก้ว เป็นเศษอาหาร 1 ครั้ง
4 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล เริ่มอาเจียนออกเป็นเลือดสีดำ พร้อมก้อนเลือด
ประมาณ ครึ่งกระโถน อาเจียนทั้งหมด 2 ครั้ง ไม่มีไข้ ไม่มีถ่ายดำ เริ่มรู้สึก
อ่อนเพลีย ไม่มีแรง ญาติจึงนำส่งโรงพยาบาล สะเดา
ที่ รพ.สะเดา แรกรับ
BP 140/80 RR 20/min
BT 37 c PR 98/min
ได้รับการรักษาใส่ NG tube และ resuscitation แต่ไม่ได้รับยาอะไร อาการไม่ดี
ขึ้น จึง refer มา รพ.หาดใหญ่
Past history : underlying disease >> HT , asthma
ประวัติกินยาแก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย (ไม่ทราบชื่อ) ติดต่อกัน 3 ปี
ปฎิเสธการแพ้ยา แพ้อาหาร
ปฏิเสธ การดื่มสุรา / สูบบบุหรี่
ไม่เคยมีอาการเช่นนี้มาก่อน
Personal history : ไม่มีประวัติเลือดอกง่ายหรือหยุดยาก
ไม่มีประวัติน้ำหนักลดในรอบ 6 เดือน
Family history : ทุกคนในบานสุขภาพแข็งแรง สมบูนณ์ดี
(บุคคลอื่นที่ร่วมรับประทานหอยไม่มีอาการเช่นเดียวกัน)
ไม่มีประวัติโรงติดต่อทางพันธุกรรม
Physical examination : Vital signs ;BT 37.2 C ,RR 24/min ,PR 100/min,BP 90/50 mmHg
GA ; an old Thai woman , good consciousness E4V5M6 ,look sick
HEENT ; moderate pale , no jaundice, mild dry lips.
Heart ; normal s1 s2, no murmur
Lung ; normal breath sound Lt. = Rt. , no cripitatio
Abdomen ; soft, not tender , no guarding , spleen and liver can’t palpable.
Extremities- no pitting edema
Neurological exam – normal
Management : หลังซักประวัติและตรวจร่างกายเบื้องต้น ผู้ป่วยได้รับการรักษาเบื้องต้น เนื่องจากภาวะ hypovolumic shock
โดนการ resuscitation และได้รับ order ดังต่อไปนี้ ก่อน admit ที่หอผู้ป่วยอายุรกรรม
- NPO
- Retained NG tube ต่อลงถุง (coffee ground)
- Record v/s keep BP > 90/60
- 0.9 % NSS IV drip 120 ml/hr
- Hct q’ 4 hr
- G/M PRC 2 u IV drip 4 hr 1u
- Keep total volume 120 ml/hr
- Retained foley cath
- Record urine output q 2 hr , keep > 50ml/2hr
- CXR, EKG,CBC,BUN/Cr, E’lyte,PT,PTT
- Omeprazole 40 mg IV q 12 hr
หลังจาก admit ที่ อายุรกรรม อาการผู้ป่วยยังไม่ดีขึ้น จึง consult ศัลย์เพื่อ investigation โดยการทำ gastoscopy
1 st : ไม่พบจุดเลือดอก เนื่องจาก มี blood clot จำนวนมาก
Re-gastoscopy : พบจุดเลือดออก ที่ stomach
Problem : การทำ Gastoscopy สามารถช่วยวินิจฉัย ภาวะ UGIB ได้แม่นยำกว่าการวินิจฉัยอาการและอาการแสดงแต่ละอันที่พบได้ ในผู้ป่วย UGIB หรือไม่
P : ผู้ป่วย UGIB
I: Gastoscopy
C: อาการและอาการแสดงของผู้ป่วย UGIB
O: ความแม่นยำในการวินิจฉัย ภาวะ UGIB
การรักษา : นศพ.ฐานกุล สุวพณิชพันธุ์
การรักษา : นศพ.ฐานกุล สุวพณิชพันธุ์
เด็กชายไทย อายุ 3 ปี
CC: มีน้ำมูก มา 3 วันก่อนมารพ.
PI: 3 วันก่อนมารพ. มีน้ำมูกใส ปริมาณไม่มาก ไม่มีไอ ไม่เจ็บคอ ไม่มีไข้
1 วันก่อนมารพ. น้ำมูกสีขาวเหลือง ปริมาณมากขึ้น คัดจมูก เริ่มมีไข้ต่ำ ๆ ไอ เสมหะเล็กน้อย ยังทานอาหารได้ดี ไม่ได้ไปรักษาที่ใดมาก่อน
PH: ปฏิเสธโรคประจำตัว
ปฏิเสธแพ้ยาแพ้อาหาร
รับประทานอาหารวันละ 3 มื้อ ครบทั้งห้าหมู่
พัฒนาการปกติตามเกณฑ์
ฉีดวัคซีนครบ
PE:
GA: Good consciousnessHEENT: Not pale conjunctiva, no icteric sclera,mild injected pharynx,
tympanic membrane intact both.Lungs: Normal breath sound, no wheezingHeart: Normal heart sound s1s2, no murmurAbdomen: soft, not tender , active bowel sound,liver and spleen cannot be palpateExtremities: No pitting edema, no ecchymosis
Diagnosis : URI
Treatment: paracetamol , cpm
Problem : การให้ vitamin C มีผลทำให้ URI หายเร็วขึ้น
การวินิจฉัย : นศพ.ฐานกุล สุวพณิชพันธุ์
การวินิจฉัย : นศพ.ฐานกุล สุวพณิชพันธุ์
หญิงไทยคู่ อายุ 40 ปี
CC: ก้อนที่เต้านมด้านซ้ายมา 2 เดือน ก่อนมารพ.
PI: 2 เดือนก่อนมา รพ. คลำก้อนที่เต้านมด้านซ้าย ขนาดประมาณ 2 cm. ไม่เจ็บ
1 เดือนก่อนมา รพ. รู้สึกว่าก้อนโตขึ้น ก้อนขยับไม่ได้ ไม่เจ็บ ไม่มีเบื่ออาหารน้ำหนักลด กังวลว่าจะเป็นมะเร็งจึงมารพ.
PH: ปฏิเสธโรคประจำตัว
ปฏิเสธการแพ้ยาแพ้อาหาร ไม่ได้กินยาอะไรเป็นประจำ
มีพี่สาวเป็นมะเร็งเต้านม
PE:
GA: Good consciousness
HEENT: Not pale conjunctiva, no icteric sclera, no lymph node enlargement.
Breast: mass 3x3 cm. at upper outer quadrant Lt.breast ,fix ,rough surface, firm consistency.
Lungs: Normal breath sound, no wheezing
Heart: Normal heart sound s1s2, no murmur
Abdomen: soft, not tender , active bowel sound, liver and spleen cannot be palpate
Extremities: No edema, no ecchymosis, normal movement.
Problem: การใช้ mammogram ในการวินิจฉัย Breast cancer มีความแม่นยำเพียงไรเมื่อเทียบกับผล patho
Problem in Diagnosis,นศพ.ปาณฉัตร ดำเกลี้ยง
CC: หายใจขัด แน่นหน้าอก 1 วัน PTA
PI : 1 wk PTA ไข้สูงหนาวสั่น เป็นเฉพาะช่วงเย็น ตอนกลางวันมีไข้ไม่สูง ท้องเสีย ถ่ายเหลวเป็นน้ำไม่มีมูกหรือเลือดปน ปวดท้องบริเวณสะดือ ปวดบีบเป็นพักๆ มีอาการคลื่นไส้ แต่ไม่อาเจียน ปวดศีรษะทั่วๆ
5 days PTA ไปคลินิก ได้ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ ดังนี้
CBC : wbc 5,750 ( PMN 61% Lym 36 %) Hct 42 % Plt 176,000
Malaria not found
Leptospirosis : negative
Widal test O < 1:80
Widal test H = 1:320
ได้ยากลับมาทาน และแพทย์นัดฉีดยาที่คลินิกวันละสองครั้ง
วันนี้ มีอาการหายใจติดขัด แน่นหน้าอกขณะพัก เป็นทั้งวัน ไม่มีเหงื่อแตกใจสั่น หรือเจ็บหน้าอก ไม่ร้าวไปกราม/ไหล่ ยังคงมีอาการถ่ายเหลวเป็นน้ำ ~ 4 ครั้ง/วัน
PH : ปฏิเสธโรคประจำตัว , สูบบุหรี่ วันละ 1 ซองมานาน 10 ปี
PE : V/S - BT 36.4 c BP 100/60 mm.Hg. PR 78/min RR 22/min
GA – good consciousness
HEENT – not pale conjuctiva,no icteric sclera,mild dry lips,not injected conjunctiva or oral ulcer
Heart&Lungs – WNL
Abdomen – soft,moderate tenderness at epigastrium,no guading,hyperactive bowel sound,no hepatosplenomegaly
Imp: Typhoid fever เนื่องจาก widal test H positive
สงสัยว่า การ diagnosis typhoid fever จำเป็นต้อง positive ทั้ง 2 test หรือไม่ แล้วสามารถเกิดผลบวกลวงได้หรือไม่ หากผลtest negative ทั้งสองอย่าง เราจะสามารถวินิจฉัยโรค Typhoid ได้จากอะไรบ้างจ๊ะ
Problem in Treatment ,นศพ.ปาณฉัตร ดำเกลี้ยง
CC : อาเจียนมากมา 3 วันก่อนมาโรงพยาบาล
PI : 3 วันก่อนมารพ. คลื่นไส้อาเจียนวันละ 3-4ครั้ง พอกินข้าวได้บ้างเล็กน้อย มีอาการปวดท้องจุกแน่นลิ้นปี่ ซื้อยาโรคกระเพาะมากินอาการไม่ดีขึ้น
1 วันก่อนมารพ. คลื่นไส้ อาเจียน 10 ครั้ง อาเจียนออกเป็นน้ำสีเหลืองๆ กินข้าวไม่ได้ ปวดจุกลิ้นปี่ ไม่มีอาการถ่ายเหลว รู้สึกเพลียมาก จึงมารพ.
PH : เคยเป็นโรคกระเพาะอาหารอักเสบประมาณ 2-3ปีที่แล้ว มีอาการแสบท้องบ้าง นานๆครั้ง
OB & GYN History :
menarche 13yrs old มาสม่ำเสมอรอบละ 28-30วัน มา 2-3วัน ผ้าอนามัยวันละ 2 แผ่น
ประจำเดือนขาดไปประมาณ 1 เดือน จำวันที่ไม่ได้แน่นอน
G1P0 GA ~ 4 wks by LMP ,no ANC
PE :
V/S - BT 36.8 c BP 100/80 mm.Hg. PR 60/min RR 20/min
GA – good consciousness
HEENT – not pale conjuctiva,no icteric sclera,mild dry lips
Heart&Lungs – WNL
Abdomen – soft,mild tenderness at epigastrium,fundus height cannot be palpated
Ext – no pitting edema, capillary refill<2seconds
Laboratory Investigation
U/A normal UPT positive Blood chemistry normal CBC normal
Ultrasound TVS :SVP, CRL = 6+2 wks
Diagnosis : Hyperemesis gravidarum
Treatment :
5% D/N/2 1,000 cc add B co 2 cc iv rate 80 cc/hr
Vitamin B6 (50mg) 1x3 oral ac
Motilium 1x3 o ac
***สงสัยว่า ทำไมถึงให้ Motilium ในรายนี้ เนื่องจาก ยังไม่มีการจัด FDA class ที่แน่นอนของ Domperidone(motilium) มียาอื่นที่เหมาะสมมากกว่า domperidone ในการแก้อาการอาเจียนของผู้ป่วยรายนี้หรือไม่ ***
ตอบกันเยอะๆนะจ๊ะ
08/07/2007
CC: ปวดศีรษะ 1 สัปดาห์ก่อนมารพ.
PI: 1 สัปดาห์ก่อนมารพ. มีอาการปวดศีรษะข้างซ้าย ปวดตุ๊บ ๆ เป็นๆ หาย ๆ ไม่มีปวดร้าวไปที่ไหน อาการปวดลดลงเมื่อได้นอนพัก อาการปวดแต่ครั้งจะปวดนานเป็นชั่วโมง ก่อนมีอาการปวดจะเห็นแสงวูบวาบ ไม่มีอาการไข้ ไม่มีคลื่นไส้อาเจียน
PH: ไม่มีโรคประจำตัวใดๆ
ไม่แพ้ยาหรือแพ้อาหาร
ไม่สูบบุหรี่และไม่ดื่มเหล้า
ไม่เคยมีอาการปวดแบบนี้มาก่อน
FH: ไม่มีคนในครอบครัวเป็นไมเกรน
มีลูกสองคน คนโต 6 ขวบ คนเล็ก 4 ขวบ
PE: V/S BP 120/70 mmHg BT 37.0 PR 85 RR 18
GA: look sick, good consciousness
HEENT: not pale conjunctiva, no icteric sclera, no papiiledema
Lungs: normal breath sound, no wheezing
Heart: normal heart sound, no murmur
Abdomen: soft, not tender, no guarding, no hepatosplenomegaly, no mass
Extremities: no pitting edema, no weakness of upper and lower limb
Laboratory
CBC: WBC 7800
HCT 38
PLT 400,200
PMN 65
การวินิจฉัยเป็น Acute migraine
คำถามอยากทราบว่า การให้ยา paracetamol สามารถช่วยลดอาการปวดศีรษะจากไมเกรนได้หรือไม่ เมื่อเทียบกับการไม่ให้ยา
P: ผู้ป่วยไมเกรน
I: การให้paracetamol
C: ให้ยาพาราเซตามอลและไม่หายาพาราเซตามอล
O: ช่วยลดอาการปวดศรีษะได้
Treatment ของ นศพ. ธวัชชัย โรจน์ศริกูลกิจ
Evidence Based Medicine in Hatyai Hospital,Thailand: Assignment I
Diagnosis by นศพ.สุภาวรรณ ตันติหาชัย
PP :เด็กหญิงไทย อายุ 3 ปี
CC : เหนื่อยมากมา30 min PTA
PI : 2 d PTA ไอแห้งๆ ไม่มีเสมหะ มีน้ำมูกสีเขียว ไม่มีไข้
1d PTA ไอมากขึ้น กินยาขยายหลอดลม และพ่นยา1ครั้ง อาการดีขึ้น จึงไปรร. แล้วถูกละอองฝน เมื่อกลับบ้าน ช่วงเย็น( 30 min PTA )ไอมากขึ้น รู้สึกเหนื่อย และหายใจเร็ว ป้าได้ยินเสียงหวีด พ่นยาอีก1ครั้ง อาการไม่ดีขึ้น จึงมา รพ.
PH: underlying Asthma หอบครั้งแรกเมื่ออายุ1ปี เมื่อก่อนหอบบ่อย 4mo PTA ไม่มีอาการหอบเลย
ปัจจุบันพ่น Budesonide 1 puff hs
PE: V/S BT 38 BP: 100/50 mmHg PR 196 RR 48 SpO2= 96%GA: Good consciousness,look dyspnea and tachypnea
HEENT: pharynx and tonsil not injected, no cyanosis
Lung : prolonged expiration phase, coarse crepitation at both lungs, subcostal retraction
Heart: tachycardia, normal s1s2, no murmur
Abdomen : soft, not tender, no guarding
Orther : WNL
แรกรับพ่นยาที่ERแล้วอาการไม่ดีขึ้น มาที่ward ผู้ป่วยได้ ventolin, paracetamol syrupและoxygen face mask จะมีอาการดีขึ้นหลังพ่นยา แต่เมื่อตรวจร่างกายก็ยังมีไข้ และมี coarse crepitation วันต่อมา คิดถึง pneumoniaแพทย์จึงได้สั่ง Amoxycillinให้
ปัญหาคือ การวินิจฉัยPneumoniaในเด็กเล็ก จากการซักประวัติและตรวจร่างกายมีความแม่นยำมากกว่าการถ่ายภาพรังสีปอดหรือไม่
Evidence Based Medicine in Hatyai Hospital,Thailand: Assignment I
นศพ.นพพร
ชายไทยอายุ 54 ปี
Chief complaint: อาเจียนเป็นเลือดสด 30 นาที PTA
Present illness: 30 นาที ก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยมีอาการอาเจียนเป็นเลือดสด ประมาณ 2 แก้ว (400 cc) รู้สึกหน้ามืด ใจสั่น เวียนศีรษะ แต่ยังมีสติดี มีอาการปวดท้องบริเวณชายโครงขวาเล็กน้อย ปัสสาวะสีเข้ม อุจจาระปกติ
Past history: - Underlying disease: alcoholic cirrhosis
- ดื่มเหล้าสูบบุหรี่ตอนอายุ 19 ปี ดื่มเหล้าวันละ ครึ่ง – หนึ่ง แบน สูบบุหรี่วันละ ครึ่งซอง ปัจจุบันเลิกแล้ว
Physical examination:
- Vital sign: BT 37.2 c, BP 100/80 mmHg, PR 100 /min, RR 20 /min
- GA: good consciousness, looks sick
- HEENT: icteric sclera, pale conjunctiva, parotid gland enlargement
- Chest: gynecomastia, clear both lungs
- Heart: normal S1S2, no murmur
- Abdomen: minimal ascites, numerous veins radiating out of the umbilicus, liver can’t be palpated, spleen 3 FB below left costal margin.
- Extremities: palmar erythema, mind pitting edema
LAB:
- CBC: Hct. 30%, Hb 10 g/dl, WBC 4500 cells/cu.mm, PMN 60%, Lymphocyte 38%, Monocyte 2%, Platelet 150000 cells/cu.mm
- Coagulogram: PT prolong, PTT normal
- LFTs: AST, ALT elevation
Dx. Esophageal varice
Problem: การให้ยา Beta-Blocker สามารถช่วยลด rebleeding จาก esophageal varice ได้หรือไม่
Evidence Based Medicine in Hatyai Hospital,Thailand: Evidence Based Medicine in Hatyai Hospital,Thailand: Assignment I
Treatment(นศพ ฟ้าใส ภักดิกมล)
ผู้ป่วยหญิงไทยคู่อายุ 20 ปี
CC. มีอาการคันบริเวณปากช่องคลอดมา 5 วันก่อนมารพ
PI. 5 วันก่อนมารพ มีอาการตกขาวสีขาวขุ่นเป็นก้อนออกมาจากช่องคลอด มีอาการแดงรอบๆ ปากช่องคลอด มีกลิ่นคาว แต่ไม่มีกลิ่นคาวปลา ร่วมกับมีอาการคันช่องคลอดและปากช่องคลอดมาก ไม่มีอาการไข้ ปวดท้องน้อย หรือเลือดออกผิดปกติทางช่องคลอดร่วมด้วย
PH. ปฏิเสธโรคประจำตัว
ปฏิเสธการแพ้ยาแพ้อาหาร ไม่ได้รับประทานยาอะไรเป็นประจำ
เคยมีอาการเช่นนี้มาก่อน เป็นมา 2 ครั้งเมื่อ 2 ปีที่แล้ว รักษาด้วยยาชนิดเหน็บช่องคลอด
FH. ไม่มีประวัติมีโรคติดต่อทางพันธุกรรมในครอบครัว
OB&GYN แต่งงานมา 1 ปี ยังไม่มีบุตร ไม่ได้คุมกำเนิด ประจำเดือนมาปกติดีทุกเดือน Single partner ไม่เคยเป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ สามีไม่เคยเป็นเช่นกัน
ทำความสะอาดช่องคลอดด้วยการสวนล้างช่องคลอด (เริ่มมาได้ 7 วัน)
PE. V/S BT 36.8 C, BP 110/70 mmHg, RR 20/min, PR 75/minGA:Good conciousnessHEENT: not pale conjunctiva, no icteric scleraHEART and LUNG: WNLABDOMEN: soft, not tender , no guarding
PV: NIUB: redness vulva Vg: curd like d/c Cx: not tender on excitation, os closed Ut: normal size Adn: free Culdesac: no bulging
Investigation. Wet smear with KOH many WBC and Hyphae
Diagnosis Candidal vulvovaginitis
PICO
Problem การรักษาการติดเชื้อราที่ช่องคลอดด้วยยาชนิดรับประทานได้ผลดีกว่าชนิดเหน็บช่องคลอดหรือไม่
Intervention ใช้ยาชนิดรับประทานและชนิดเหน็บช่องคลอด
Comparison ยารักษาเชื้อราชนิดรับประทาน
Output การรักษาการติดเชื้อราที่ช่องคลอดด้วยยาชนิดรับประทานได้ผลดีกว่าชนิดเหน็บช่องคลอด
Evidence Based Medicine in Hatyai Hospital,Thailand: Evidence Based Medicine in Hatyai Hospital,Thailand: Assignment I
Diagnosis (นศพ ฟ้าใส ภักดิกมล)
ผู้ป่วยหญิงไทยคู่อายุ 50 ปี
CC. มีอาการปัสสาวะบ่อย ดื่มน้ำบ่อยมา 3 เดือนก่อนมารพ.
PI. 3 เดือนก่อนมารพ มีอาการปัสสาวะบ่อย ปัสสาวะบ่อยโดยเฉพาะช่วงกลางคืน ประมาณคืนละ 5 – 6 ครั้ง แต่ลักษณะปัสสาวะปกติดี ไม่มีฟอง สีใส ไม่มีอาการแสบขัด ไม่มีไข้ และมีอาการหิวน้ำบ่อยร่วมด้วย ไม่ทราบสาเหตุไม่มีอาการปวดศีรษะ ตามัว ชาตามปลายมือปลายเท้า ปวดท้อง หายใจหอบหรือซึมลงร่วมด้วย ก่อนหน้านี้ไม่เคยมีอาการเช่นนี้มาก่อน เคยมาตรวจ เมื่อ 3 เดือนที่แล้วระดับน้ำตาลในเลือดขณะยังไม่ได้รับประทานอาหารเช้า ผลปกติดี
PH. ปฏิเสธโรคประจำตัว
ปฏิเสธการแพ้ยาแพ้อาหาร ไม่ได้รับประทานยาอะไรเป็นประจำ
FH. มารดาเป็นโรคเบาหวาน บุคคลในครอบครัวสนิทสนมกันดี
PH. ภูมิลำเนา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ประกอบอาชีพ ค้าขายของชำที่บ้าน
การรับประทานอาหาร รับประทานอาหารวันละ 3 มื้อ ชอบรับประทานอาหารหวาน และประเภททอด ไม่รับประทานอาหารเค็ม เป็นผู้ทำอาหารเอง
ไม่ค่อยได้ออกกำลังกายเนื่องจากต้องขายของที่ร้านตั้งแต่เวลา 9.00 – 20.00 น
PE. V/S BT 37 C, BP 130/70 mmHg, RR 20/min, PR 62/minGA:Good conciousness obese woman (Body weight 80 Kg Height 168 cm BMI 28.4Kg/m2)HEENT: not pale conjunctiva, no icteric scleraHEART and LUNG: WNLABDOMEN: soft, not tender , no guardingEXTREMITIES: no lesion
NEURO : normal sensory
Investigation. FPG 115 mg/dL , UA normal
PICO
Problem ความแม่นยำการวินิจฉัยเบาหวานโดย Fasting plasma glucose มากกว่าเมื่อเทียบกับ Oral glucose tolerance test หรือไม่
Intervention การทดสอบ Fasting plasma glucose กับ Oral glucose tolerance test
Comparison Oral glucose tolerance test
Output การทดสอบ Fasting plasma glucose เป็นการวินิจฉัยโรคเบาหวานได้แม่นยำกว่า
Evidence Based Medicine in Hatyai Hospital,Thailand: Assignment I
Treatment ของ นศพ. ศักดิ์ชัย ณ วังอ่าง
Patient profile : หญิงไทยคู่ อายุ 32 ปี
Chief complaint : เจ็บครรภ์คลอดมา 6 ชม.ก่อนมา รพ.
Present illness : G1 P0 GA 40 สัปดาห์ by LMP ผู้ป่วยบอกว่าฝากครรภ์ที่คลินิกแต่ไม่ได้นำสมุดมา รพ.
6 ชม.ก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยได้ ปวดท้องลักษณะแบบเจ็บครรภ์คลอดจึงมา รพ.
Past history - ปฏิเสธประวัติโรคประจำตัวใดๆ
- ปฏิเสธประวัติการแพ้ยาแพ้อาหาร
OB - GYN History - G1P0, GA 40 weeks by LMP
- มีประจำเดือนครั้งแรกเมื่ออายุ 13 ปี มาค่อนข้างสม่ำเสมอ โดยแต่ละรอบห่างกันประมาณ 30 วัน และนาน 7 วัน มามากในช่วง 3 วันแรก ใช้ผ้าอนามัยวันละประมาณ 3 - 4 ผืน
- แต่งงานมานานประมาณ 1 ปี ก่อนหน้านี้ ไม่ได้มีการคุมกำเนิดด้วยวิธีใดมาก่อน
- ไม่เคยป่วยด้วยโรคทางนรีเวชหรือโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
Review of system: ไม่มีความผิดปกติในระบบอื่นๆ ของร่างกาย
Physical Examination :WNL
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Hct 36 %
Anti-HIV positive
VDRL Non-Reactive
#Diagnosis HIV in pregnancy
ปัญหา : การผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องสามารถลดการติดเชื้อHIVจากแม่สู่ลูกหรือไม่เมื่อเทียบกับการคลอดทางช่องคลอด
Evidence Based Medicine in Hatyai Hospital,Thailand: Assignment I
Therapeutic:กนกทิพ ทองผ่อง
Patient Profile หญิงไทย อายุ 18 ปี ภูมิลำเนา อ.สะเดา จ.สงขลา
C.C ปวดท้องมา 2 วัน PTA
PI. 2 วัน PTA มีอาการปวดแสบ บริเวณลิ้นปี่ เป็นๆหายๆ ไม่มีร้าวไปที่ใด มักเป็นมากเวลาท้องว่าง ดีขึ้นหลังทานยาลดกรด มีคลื่นไส้อาเจียน 1 ครั้งเป็นอาหารที่ทาน
1 วัน PTA มีอาการปวดแสบที่ลิ้นปี่ ไม่ได้ร้าวไปไหน เป็นมากขึ้น จึงมารพ. ไม่มีคลื่นไส้อาเจียน ไม่ไข้ ปัสสาวะอุจจาระปกติ
PH. มีประวัติเป็นโรคกระเพาะเป็นๆหายๆมา 3 ปี รับยาที่อนามัยใกล้บ้านเป็นครั้งคราว
ปฏิเสธการแพ้ยาแพ้อาหาร
ปฏิเสธโรคทางพันธุกรรม
ไม่ได้ใช้ยาใดๆเป็นประจำ
ไม่ดื่มเหล้าสูบบุหรี่
PE. V/S: BT 37.1 C, BP 120/80 mmHg, RR 16, PR 70
GA:A Thai woman ,Good consciousness
HEENT:Not pale conjunctiva,No icteric sclera
Heart:Normal s1s2 ,No murmur
Lung:clear both lung right=left , no wheezing , no crepitationAbdomen: soft , mild tender at epigastrium ,no guarding, no rebound tenderness, active bowel soundExtremities: no edema Neurological examination – normal
Imp. GU
Rx. -Omeprazol
-Antacid
ได้ยาไป 1 อาทิตย์
Q:ควรรักษาโดยการให้ยาชนิดใด นานเท่าไร และควรพิจารณาให้ ATB (เพื่อกำจัด H.pylori)เมื่อไร จึงจะลดการกลับเป็นซ้ำได้ดีที่สุด
Diagnosis:กนกทิพ ทองผ่อง
Patient Profile ชายไทยคู่ อายุ 68 ปี ภูมิลำเนา อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา
C.C หมดสติมา 2 ชม. PTA
PI. 2 ชม. PTA ขณะนั่งรับประทานอาหารเย็นบนโต๊ะทานอาหาร อยู่ๆผู้ป่วยก็เป็นลมหมดสติล้มลง ไม่มีชักเกร็ง ไม่มีอุจจาระปัสสาวะราด ไม่ไข้ ก่อนหน้านี้ประมาณ 1 วันเคยบ่นปวดหัวนอกจากนี้ก็สบายดีมาตลอด
PH. ปฏิเสธโรคประจำตัว(ไม่เคยตรวจเช็คสุขภาพมาก่อน)
ปฏิเสธการแพ้ยาแพ้อาหาร
ปฏิเสธโรคทางพันธุกรรม
ไม่ได้ใช้ยาใดๆเป็นประจำ
ไม่ดื่มเหล้า,สูบบุหรี่วันละ 1 ซองมา 10 ปี
PE. V/S: BT 37.4 C, BP 180/100mmHg, RR 60, PR 92
GA:A Thai man ,Coma
HEENT:Not pale conjunctiva,No icteric sclera
Heart:Normal s1s2 ,No murmur
Lung: clear both lung right=left , no wheezing , no crepitation
Abd:soft, active bowel sound
Ext: no edema
Neurological Examination
-Cerebral function:Level of consciousness- –coma
-Motor and sensory: can not evaluation
-CN 1 : can not evaluation
-CN 2: can not evaluation
-CN 3,4,6: pupil diameter 3 cm. BRTL
- CN 5,7-12: can not evaluation
-DTR: 3+ all extremities
-BBK:Dorsiflex
-Cerebellar sign: can not evaluation
-Meningeal sign:no stiffness of neck
แพทย์ให้การวินิจฉัยว่าเป็น stroke
Q:จะวินิจฉัยแยกชนิดของ stroke(เช่น ischemic)เบื้องต้น โดยอาศัยข้อมูลจากการซักประวัติ ตรวจร่างกาย ได้อย่างไรบ้าง(ไม่รวม investigation)
diagnosis case :ไพพรรณ ศิริพร
CC ไข้สูง 5 วัน PTA
PI 5 วันก่อนมีอาการไข้สูง ไม่มีมีอาการหนาวสั่น ไม่มีอาการ URI symptom ไม่มีอาการคลื่นไส้ ไม่อาเจียน อุจจาระ ปัสสาวะปกติ รับประทานยาแก้ไข้อาการดีขึ้นบ้าง แต่ก็มีอาการไข้สูงขึ้นมาอีก
1 วันก่อนยังมีอาการไข้สูงอยู่ ปวดเมื่อยตามตัว กินยาแก้ไข้แล้ว อาการไข้ไม่ลด มีอาการคลื่นไส้อาเจียนออกเป็นน้ำ 3 ครั้ง ถ่ายเหลวเป็นน้ำ 2 ครั้ง ปัสสาวะปกติ ปวดศีรษะมากขึ้น จึงมาโรงพยาบาล
PH ปฏิเสธประวัติโรคประจำตัว
ปฏิเสธกินยาใดเป็นประจำ ไม่เคยแพ้ยาแพ้อาหาร
ปฏิเสธโรคติดต่อทางพันธุกรรม และโรคติดต่อร้ายแรงในครอบครัว
ปฏิเสธทางเดินทาง และเดินทางเข้าป่า
ปฏิเสธการเดินลุยน้ำขัง
PE V/S BT 38.8 c PR 90/min RR 20/min BP 90/60 mmHg
GA good consciousness looked fatigue
HEENT injected conjunctivae no icteric sclera
TM intact both ears pharynx not injected no rhinorrhea
No lymph node enlargement
Heart normal S1 S2 no murmur regular rhythm
Lungs normal breath sound no wheezing no chest retraction
Abdomen soft not tenderness no distention
Ext flushing skin no mass no lesion
LAB CBC
WBC 7,500
Plt 120,000
Hct 36 %
Hb 13
PMN 65%
Lymp 21%
Tourniquet test –ve
Plan ให้ยาลดไข้ ให้ iv fluid เนื่องจากผู้ป่วยกินไม่ค่อยได้ และ observed อาการ
ต่อมานอนโรงพยาบาล 3 วัน อาการไข้ยังสูงอยู่ ตาแดงและมีผื่นขึ้นตามตัว อาการคลื่นไส้อาเจียนอยู่ จึงสงสัยเกิดไข้จาก scurb typhus
P : อาการป่วยของผู้ป่วย R/O ไข้จาก Scurb typhus
I : การให้ยา doxycyclinเป็น therapeutic diagnosis
C : การให้ยา และการส่ง lab test
O : diag Scurb typus ได้
Evidence Based Medicine in Hatyai Hospital,Thailand: Assignment I
การรักษา
เด็กชายไทย อายุ 3 ปี
CC: มีน้ำมูก มา 3 วันก่อนมารพ.
PI: 3 วันก่อนมารพ. มีน้ำมูกใส ปริมาณไม่มาก ไม่มีไอ ไม่เจ็บคอ ไม่มีไข้
1 วันก่อนมารพ. น้ำมูกสีขาวเหลือง ปริมาณมากขึ้น คัดจมูก เริ่มมีไข้ต่ำ ๆ ไอ เสมหะเล็กน้อย ยังทานอาหารได้ดี ไม่ได้ไปรักษาที่ใดมาก่อน
PH: ปฏิเสธโรคประจำตัว
ปฏิเสธแพ้ยาแพ้อาหาร
รับประทานอาหารวันละ 3 มื้อ ครบทั้งห้าหมู่
พัฒนาการปกติตามเกณฑ์
ฉีดวัคซีนครบ
PE:
GA: Good consciousness
HEENT: Not pale conjunctiva, no icteric sclera,mild injected pharynx,
tympanic membrane intact both.
Lungs: Normal breath sound, no wheezing
Heart: Normal heart sound s1s2, no murmur
Abdomen: soft, not tender , active bowel sound,liver and spleen cannot be palpate
Extremities: No pitting edema, no ecchymosis
Diagnosis : URI
Treatment: paracetamol , cpm
Problem : การให้ vitamin C มีผลทำให้ URI หายเร็วขึ้น
Evidence Based Medicine in Hatyai Hospital,Thailand: Assignment I
นศพ.สิริชัย ธาดาประดิษฐ์
Treatment
ผู้ป่วยหญิงไทยคู่อายุ 40 ปี
CC. มีอาการปวดท้องบริเวณลิ้นปี่ 3 วันก่อนมารพ.
PI. 7 วันก่อนมารพ. ผู้ป่วยคันบริเวณขาหนีบ มีตกขาวลักษณะคล้ายแป้งเปียก สีขาวๆเป็นแผ่นๆ ไม่มีฟอง ประจำเดือนมาครั้งสุดท้าย เมื่อ 15 วันก่อน มา 3 วัน วันละ 3-4แผ่น
3 วันก่อนมารพ. มีอาการปวดแน่นท้อง บริเวณลิ้นปี่ ปวดแสบๆ เป็นมากเวลาหิว ทานอาหารแล้วดีขึ้น ไม่มีไข้ ไม่อาเจียน ลักษณะปัสสาวะปกติดี ไม่มีฟอง สีใส ไม่มีอาการแสบขัด
อุจจาระปกติ สีเหลือง
PH. ปฏิเสธโรคประจำตัว
ปฏิเสธการแพ้ยาแพ้อาหาร ไม่ได้รับประทานยาอะไรเป็นประจำ
ปฏิเสธโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ใดๆ
FH. บุคคลในครอบครัวสนิทสนมกันดี ปฏิเสธโรคทางพันธุกรรมใดๆ
PH. ภูมิลำเนา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ประกอบอาชีพ ค้าขาย
PE. V/S BT 37.2 C, BP 120/70 mmHg, RR 16/min, PR 62/minGA:Good conciousness well co-operation
HEENT: not pale conjunctiva, no icteric scleraHEART and LUNG: WNLABDOMEN: soft, tender at epigastrium , no guarding,normoactive bowel soundEXTREMITIES: erythematous patch lesion at both groin
NEURO : normal sensory
PV : whitish discharge , other : WNL
Wet smear : pseudohyphae numerous
PICO
Problem การรักษา dyspepsia กับ vaginal candidiasis ใช้ยาวิธีใดจะได้ประสิทธิภาพมากกว่า
Intervention การใช้ Ranitidine , Ketoconazole
Comparison การใช้Ketoconazole ทาง Oral , vaginal suppole
Outcome ประสิทธิภาพในการรักษาvaginal candidiasis