Wellcome to EBM group

ยินดีต้อนรับน้องๆทุกคนค่ะ ขอให้มีความสุขและสนุกกับการเรียนEvidence Based Medicine ของภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชนโรงพยาบาลหาดใหญ่


Staffs


08/07/2007

Evidence Based Medicine in Hatyai Hospital,Thailand: Assignment I

Evidence Based Medicine in Hatyai Hospital,Thailand: Assignment I

Treatment ของ นศพ. ศักดิ์ชัย ณ วังอ่าง

Patient profile : หญิงไทยคู่ อายุ 32 ปี
Chief complaint : เจ็บครรภ์คลอดมา 6 ชม.ก่อนมา รพ.
Present illness : G1 P0 GA 40 สัปดาห์ by LMP ผู้ป่วยบอกว่าฝากครรภ์ที่คลินิกแต่ไม่ได้นำสมุดมา รพ.
6 ชม.ก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยได้ ปวดท้องลักษณะแบบเจ็บครรภ์คลอดจึงมา รพ.
Past history - ปฏิเสธประวัติโรคประจำตัวใดๆ
- ปฏิเสธประวัติการแพ้ยาแพ้อาหาร
OB - GYN History - G1P0, GA 40 weeks by LMP
- มีประจำเดือนครั้งแรกเมื่ออายุ 13 ปี มาค่อนข้างสม่ำเสมอ โดยแต่ละรอบห่างกันประมาณ 30 วัน และนาน 7 วัน มามากในช่วง 3 วันแรก ใช้ผ้าอนามัยวันละประมาณ 3 - 4 ผืน
- แต่งงานมานานประมาณ 1 ปี ก่อนหน้านี้ ไม่ได้มีการคุมกำเนิดด้วยวิธีใดมาก่อน
- ไม่เคยป่วยด้วยโรคทางนรีเวชหรือโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

Review of system: ไม่มีความผิดปกติในระบบอื่นๆ ของร่างกาย

Physical Examination :WNL

ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Hct 36 %
Anti-HIV positive
VDRL Non-Reactive


#Diagnosis HIV in pregnancy

ปัญหา : การผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องสามารถลดการติดเชื้อHIVจากแม่สู่ลูกหรือไม่เมื่อเทียบกับการคลอดทางช่องคลอด

1 comment:

Geunyoung said...

จาก Willium Text book บอกว่าลด rate vertical transmission : a meta - analysis of 15 pro spective cohort studies by International Perinatal HIV Group (1999) พบว่า Vertical transmission was reduce by one half when cesarean was compared with vaginal delivery แต่ช่วงหลังพบว่าการให้ antiretroviral therapy alone may reduce the risk to less 2 percent
เมื่อพิจารณาดูแล้วจึงพบว่าการให้ยาเพี่ยงอย่างเดียวก็น่าจะเพียงพอต่อการป้องการติดต่อจากแม่ไปยังลูกได้ดีกว่าการผ่าตัดทางหน้าท้อง ดังนั้นในช่วงหลังจึงไม่นิยมจะ prevention Vertical transmission โดยการผ่าตัดทางช่องคลอด นอกจากว่ามี indication ทั้งนี้การเตรียมการทำ c/s ยังมีค่าใช้จ่ายสูงกว่าคลอดทางช่องคลอดมาก และต้องให้บุคคลากรมากกว่า