Wellcome to EBM group

ยินดีต้อนรับน้องๆทุกคนค่ะ ขอให้มีความสุขและสนุกกับการเรียนEvidence Based Medicine ของภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชนโรงพยาบาลหาดใหญ่


Staffs


09/07/2007

THERAPRUTIC CASE: นศพ.วรธิมา อธิกพันธุ์

Evidence Based Medicine in Hatyai Hospital,Thailand: Assignment I

THERAPEUTIC CASE : นศพ. วรธิมา อธิกพันธุ์
Patient Profile : เด็กชายไทย อายุ 8 ปี
ภูมิลำเนา อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา
Chief Compliant : ประสบอุบัติเหตุทางรถจักรยานยนต์ 1 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล
Present Illness : 1ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล ขณะนั่งซ้อนท้ายจักยานยนต์ ซึ่งบิดาเป็นผู้ขับ ด้วยความเร็วปานกลาง ไม่สวมหมวกกันน็อก กำลังจะเลี้ยวรถเข้าบ้าน มีรถจักยานยนต์อีกคันหนึ่งขับปาดหน้า ทำให้รถล้มลง ทำให้ลำตัวด้านซ้ายของผู้ป่วยกระแทกพื้นรู้สึกปวดแขนซ้าย หัวไม่กระแทกพื้น จำเหตุการณ์ได้ดี มีผู้นำส่ง รพ.หาดใหญ่
Past history : No underlying disease
ปฎิเสธการแพ้ยา แพ้อาหาร
Personal history : ปฏิเสธ การดื่มสุรา / สูบบบุหรี่
ไม่เคยเข้ารับการผ่าตัดมาก่อน
Family history : ทุกคนในบ้านสุขภาพแข็งแรง สมบูรณ์ดี
ไม่มีประวัติโรงติดต่อทางพันธุกรรม
Physical examination :
Vital signs ;BT 37C ,RR 24/min ,PR 80/min,BP 100/70 mmHg GA ; good consciousness E4V5M6 HEENT ;not pale , no jaundice
Heart ; normal s1 s2, no murmur Lung ; normal breath sound Lt. = Rt. , no cripitation
Abdomen ; soft, not tender , no guarding , spleen and liver can’t palpable.
Extremities : Lt. Forearm : no wound
Deformity with dorsol displacement, tender,swelling
Can’t flex or extend wrist due to pain.
Radial and ulnar pulse >> full
Capillary refill < 2 s
Neurological exam – normalManagement : หลังซักประวัติและตรวจร่างกายเบื้องต้น ผู้ป่วยได้รับการ x-ray Lt. forearm AP . Lateral ดังนี้
- Interpretation : transverse with comminuted Fx of distal 1/3 Lt. Radius with dorsal DRUJ dislocation
Didgnosis : Closed Galeazzi fracture Lt. forearm
จากนั้น on posterior long arm slab Lt.
Treatment : ORIF with Plate and screws
Problem : การรักษา Galeazzi Fx ในเด็ก ด้วยวิธี ORIF ได้ผลการรักษาที่ดีกว่าการเข้าเฝือกหรือไม่
P : ผู้ป่วย Galeazzi Fx อายุ ไม่เกิน 15 ปี
I: ORIF
C: การเข้าเฝือก
O: วิธี ORIF ได้ผลการรักษาดีกว่า โดยเฉพาะอย่างยิ่งการรักษา DRUJ stability

4 comments:

farsai said...

ในเด็กควรลอง reduction ก่อนโดยทำ close reduction ท่าlongitudinal traction, & correction of radial angulation
หากทำแล้วไม่สำเร็จอาจทำ general anesthesia แล้ว undergo repeated closed reduction;
- if closed reduction is still not possible, then insert a 1 mm K wire percutaneously into the
fracture site and use it "lever" the fracture into a reduced position radius out to length the distal RU joint is reduced and held in full supination in a long arm cast for 6 weeks;
- in child over 12 yrs, if reduction is not acceptable, then treatment is ORIF of radius w/ 4 hole plate & closed reduction of distal RU joint;

ประมาณมะน้องตั้ก

Geunyoung said...

อันนี้ไม่รู้เรื่องเรยอ่าจ้ะ

แค่อยากเข้ามาแจม....

ไปซ้าย ไปขวาไม่สมบูรณ์ไป...สครับร้องไงหว่า

P-A-L-I-T-A said...

น้องตั๊กกี้ที่รัก อ่านไม่รู้เรื่องเบอะ ทำไงดี so sorry na แต่คำตอบของฟ้าใสคงทำให้พวกเรากระจ่างกันนะ
โอ้ ต้องขอขอบคุณฟ้าใสมากมาย ไว้อ่านรู้เรื่องเมื่อไหร่จะมาpostแล้วกันนะ

ตอนเค้าpost น้องตั๊กคงหลับไปแล้ว
ง่วงมากมายแล้วเหมือนกัน

Worathima8585 said...

โอ้ ขอบคุณมากเรยนะจ้าฟ้าใส กระจ่างฟ้าใสขึ้นทันตาเห็นตามชื่อ
คือตอนแรกที่เราสงสัยนี่คือเคยเห็นเคสผู้ใหญ่แล้วไม่ค่อยเห็นเล่มไหนแนะนำให้ เข้าเฝือกรักษา
เราเลยสงสัยว่า....ทำไมล่ะฮ้า?
เคยค้นผ่านๆก่อนหน้านี้รู้คร่าวๆ จับความไม่ค่อยจะได้ว่า เป็นเพราะความสำคัญของ DRUJ stability
(อารายว้า..อารมณ์ตอนนั้น)

แต่พอไปอ่านการรักษาของเด็ก ส่วนใหญ่เค้าก็บอกอย่างที่ฟ้าใสว่าเลย
อาจมีบางเล่มคิดการรักษาเด็ก 10ขวบขึ้นไปอย่างผู้ใหญ่
( มาเข้าใจการรักษาในเด็กกับฟ้าใสเลยนะเนี่ย... thanks มากเพื่อน )

ฉะนั้นเราเองก็ลองไปหามาเหมือนกัน (ปั่นกระทู้ตัวเอง มีด้วยเหรอเนี่ย??)
สืบเนื่องมาจากการรักษาทาง ortho ส่วนใหญ่เมื่อเป็นในเด็กก็จะได้ยินถึงการ try conservative กันก่อนมากกว่า เพราะเกี่ยวกับเรื่อง bone remodelingที่ยังดี จะมีบางกรณีที่จำเป็นต้องผ่าตัด ซึ่งหนึ่งในนั้น รวมถึง faild close reduction โดยเฉพาะในเด็กโต ตามที่ฟ้าใสบอกไว้

**ประเด็นของเราคือ แล้ว DRUJ stability ในเด็กนี่ผลมันจะไม่แตกต่างกันเหรอ ดูเหมือนจะไม่ concern เท่าของผู้ใหญ่ เพราะอะไรอ่า ทำไมไม่ผ่าตั้งแต่แรกเลยล่ะ (อันนี้คิดแบบยังไม่ไดคำนึงข้อดีข้อเสีย....กวนไปมั้ย)

ในขณะเดียวกันใน indication for internal fixation ก็ระบุไว้ดังกรณีต่อไปนี้
(อันนี้รวมทั้งเด็กและผู้ใหญ่ด้วยป่าวค่ะใครรู้มั่ง)

1. Displace intraticular Fx
2. Unsatble Fx
3. Major avulsion Fx
4. Disp;aced pathologic Fx
5. Fx ซึ่งการรักษาแบบ conservative ได้ผลไม่ดี เช่น Femoral neck Fx, Monteggia Fx, Galeazzi Fx dislocation ** my case etc.
6. Displaced epiphyseal Fx
7. Nonunion
8. Fx + compartmenr syndrome
9. Replantation

จะเห็นว่าข้อบ่งชี้ข้อ 5 ค่อนข้างระบุไว้ชัดเจน ว่า Galeazzi Fx รักษาแบบ conservative ได้ผลไม่ดี คือดีไม่ดีขนาดไหนก็ไม่รู้ แต่ไม่เป็นที่นิยม ถึงขนาดในหนังสือ “Orthopeadic trauma for extern” (.ธีระชัย อภิวรรธกุล, Orthopeadic trauma for extern, ภาควิชา ออร์โทปิดิกส์ คณะแพทยศาสตร์ ม.เชียงใหม่,2547) เขียนระบุการรักษาว่า “ห้ามรักษาด้วยการเข้าเฝือก” (หน้า45 ) รวมถึงlecture by อ.สุรสิทธิ์ ซึ่งก็ระบุว่าการรักษาแบบ conservative ได้ผลไม่ดีนัก (อ้าง ภาษาไทยได้ป่ะเนี่ย??)

แล้วทำไมมันเข้าเฝือกไม่ได้ละเนี่ย .. อันนี้สงสัย ( และมักจะเป็นคำถามในห้อง conference )

เราเลยไปค้นเรื่อง Galeazzi Fx มานะเดี่ยวมาปั่นต่อ
(แต่คิดว่าเพื่อนๆคงรุ้กันแล้วล่ะ)