Wellcome to EBM group

ยินดีต้อนรับน้องๆทุกคนค่ะ ขอให้มีความสุขและสนุกกับการเรียนEvidence Based Medicine ของภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชนโรงพยาบาลหาดใหญ่


Staffs


08/07/2007

ปัญหาด้านการวินิจฉัย โดยนักศึกษาแพทย์ เนติกรณ์ ผิวทอง
Case หญิงไทยคู่ อายุ 46 ปี อาชีพแม่บ้าน
CC: เลือดออกผิดปกติทางช่องคลอด 8 วันก่อนมาโรงพยาบาล
PI: 8 วันก่อนมาโรงพยาบาลเริ่มมีประจำเดือนตามรอบเดือนปกติ แต่ประจำเดือนไหลออกปริมาณมากกว่าปกติ ลักษณะเป็นเลือดสดไม่มีเศษเนื้อปน ใช้ผ้าอนามัยวันละ 4-5 แผ่น เลือดไหลตลอดไม่หยุด ผู้ป่วยปวดท้องเล็กน้อย ถ่ายปัสสาวะและอุจจาระปกติ ผู้ป่วยอ่อนเพลียมากจึงไปรักษาตัวที่ รพ สะเดา
ที่ รพ สะเดา ทำ serial Hct พบ 35 เป็น 32 และ 30 ตามลำดับ, UPT neg จึงส่งตัวมา รพ หาดใหญ่เพื่อทำการรักษาต่อ
PH: ปฏิเสธโรคประจำตัวใดๆปฏิเสธประวัติแพ้ยาแพ้อาหาร
ปฎิเสธประวัติสูบบุหรี่ ดื่มสุราหรือใช้สารเสพติดใดๆ
OB-GYN: ปฎิเสธประวัติโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
G5P5 last 18 ปี(ทำ TR หลังคลอด), มาประจำเดือนครั้งแรกตอนอายุ 14 ปี
LMP 2 เมษายน 2550 * 2 วัน
PE: V/S stable, afebrile
GA:Good conciousness
HEENT: mild pale, no jaundice, no dry lips
HEART* LUNG: WNLABDOMEN: soft, not tender
PV:NIUB: normal, Vg: bloody d/c, Cx: no lession, bloody per os, Ut: 8-12 wks size, Adn: free, Culdesac: no tenderness
INVESTIGATION CBC: Hb 11.90 g/dl, Hct 36.5%, wbc 8800 ul, PMN 70%, Lymp 20%
UA : normal
Dx: Menorrhagia
Plan Fractional curettage เพื่อการวินิจฉัยและหยุดเลือด
Dx (จากผลชิ้นเนื้อ) Endometrial hyperplasia
ปัญหาในการวินิจฉัย : การทำ Fractional curettage เพื่อการวินิจฉัยกรณีผู้ป่วยกลุ่ม perimenopausal period ที่มี abnormal vaginal bleeding เปรียบเทียบกับการทำ Transvaginal ultrasound ให้ผลการวินิจฉัย endometrial hyperplasia แตกต่างกันหรือไม่
P ผู้ป่วยกลุ่ม perimenopausal period ที่มี abnormal vaginal bleeding
I การทำ Fractional curettage
C การทำ Transvaginal ultrasound
O การวินิจฉัย endometrial hyperplasia

No comments: