Wellcome to EBM group

ยินดีต้อนรับน้องๆทุกคนค่ะ ขอให้มีความสุขและสนุกกับการเรียนEvidence Based Medicine ของภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชนโรงพยาบาลหาดใหญ่


Staffs


08/07/2007

Evidence Based Medicine in Hatyai Hospital,Thailand: Assignment I

Evidence Based Medicine in Haปัญหาการรักษา โดย นศพ.ขวัญชนก 4625010
หญิงไทยคู่อายุ 18 ปี บ้านอยู่ที่ อ.ควนเนียง จ.สงขลา อาชีพทำสวน
อาการสำคัญ Case refer จาก รพ.ควนเนียง G1P0 GA 41 Wks by LMP with preeclampsia
ประวัติปัจจุบัน Case G1P0 GA 41 Wks by LMP
4 ชม. PTA มีอาการปวดท้องแบบบีบๆ ปวดถี่ขึ้นเรื่อยๆ ปวดทุกๆ 5 นาที และปวดมากขึ้นเรื่อยๆ ไม่มีน้ำเดิน ไม่มีมูกเลือดออกทางช่องคลอด จึงไป รพ.ควนเนียง ที่ รพ.ควนเนียง BP แรกรับ 150/100 mmHg repeat ซ้ำก็ยัง 150/100 mmHg แต่ไม่มีอาการเวียนศีรษะ ตาพร่ามัว จุกแน่นลิ้นปี่ ตรวจร่างกายแรกรับ lung:clear Rt=Lt,Ext:pitting edema 1+,neuron: no abnormal tone การตรวจครรภ์ เด็กท่า Vx,FHS 144/min pv: Cx dilate 3 cm.,eff 80%,station 0,MI ,urine albumin:3+
การรักษาที่ได้รับขณะอยู่ที่ รพ.LRS 1,000 cc.iv 80 cc/hr ก่อนส่งต่อได้ 10%MgSo4 4 gm.IV slowly push then 50% MgSo4 10 gm IM แบ่งฉีดสะโพกข้างละ 5 gm และขณะส่งต่อ retain foley cath ,NPO
การประเมินก่อนส่งต่อ หลังจากได้ MgSo4 แล้ว RR 20/min,FHS 142/min,DTR 2+
ประวัติอดีต - ปฏิเสธโรคประจำตัวใดๆ เช่น HT,DM
- ปฏิเสธการใช้ยาๆดๆเป็นประจำ
- ปฏิเสธการแพ้ยา แพ้อาหาร
- ปฏิเสธโรคทางพันธุกรรม
ประวัติทางสูติ-นารี –ประจำเดือนครั้งแรก อายุ 11 ปี มาสม่ำเสมอ
- ตั้งครรภ์ครั้งแรก ก่อนตั้งครรภ์คุมกำเนิดโดยวิธีรับประทานยาเม็ดคุมกำเนิด ต้องการมีบุตรจึงหยุดรับประทาน
ประวัติการฝากครรภ์ Case G1P0 ANC ที่สถานีอนามัยเกาะใหญ่ สม่ำเสมอตามแพทย์นัดทั้งหมด 14 ครั้ง ผลการตรวจเลือด VDRL:NR,HIV:neg,Hb 33%,35%
Review of system: pitting edema 1+
ระบบอื่นปกติ
ตรวจร่างกาย: v/s BP 152/79 PR88/min RR22/min BT 37c BW 60 kg HT155cm.
General: pregnancy woman, good conscious
HEENT: no pale, no icteric sclera
HEART: normal s1s2, no murmur
LUNG: cler Lt=Rt , no adventitious sound
ABDOMEN:FH ¾>umbilicus,OL,engaged,FHS 140/min,UC: interval 3 min duration 40 sec
PV: Cx dilate 3 cm.,eff 1oo%,station -2,MI
LAB: CBC: Hb 11.7 Hct 35.06 Wbc 12,520 Plt.273,300 Neu 76.23 Lym 19.07
E’lyte: Na 152 K3.9 Cl 115Co2 23
Blood chemistry:glucose 84, BUN 7, Cr 0.7, Uric acid 5.8, Total protein 6.3, Albumin 3.4, Total bilirubin 0.5, SGOT 23, SGPT 15, ALP 323
UA:sp.gr. 1.018 wbc 3-5, rbc 50-100, protein 100 mg/dl, glucose:neg, blood 250 mg/dl
ผู้ป่วยคลอด normal labor ทารกเพศหญิง นน.3,510 กรัม Apgar 9,9,9
ปัญหาการรักษา การให้ MgSo4ในผู้ป่วย preeclempsia มีประโยชน์ในการป้องกันและรักษาอาการชักได้หรือไม่?
tyai Hospital,Thailand: Assignment I

5 comments:

farsai said...

Magnesium Sulfate could help prevent numerous cases of eclampsia worldwide with a number- needed-to-treat (NNT) of about 110

farsai said...

In developed countries rate of eclampsia in women with pre-eclampsia is much lower in in developed countries and the NNT is correspondingly much higher. In countries with a low perinatal mortality rate (PMR), the rate of eclampsia was 4/778 in the treated group and 6/782 in the placebo group giving a NNT of about 390.
Clearly maternal death is not the only clinical consideration in women with eclampsia but the MAGPIE trial did not detect any other benefit of the administration of Magnesium sulfate. Even though the drug itself appeared to be very safe, side-effects of the active drug were common (24% v 5%). Moreover, Magnesium therapy does require extra monitoring by the birth attendant which can distract from other aspects of care.

P-A-L-I-T-A said...

การให้ MgSo4ในผู้ป่วย preeclempsia มีประโยชน์ในการป้องกันและรักษาอาการชักได้หรือไม่?
มีข้อมูลที่สนับสนุนอย่างชัดเจนถึงประโยชน์ของการใช้ MgSo4 ในการรักษา recurrent eclamptic seizures และในการ prophylaxis of eclampsia ในกรณี recurrent eclamptic seizures สามารถลด seizure ได้ 50%-2/3 ของคนที่ไม่ได้treat นอกจากนี้ยังลด maternal mortality และ maternal and neonatal morbidity ได้อย่างมีนัยสำคัญ
ในการศึกษาหนึ่งเป็น RCT(N=10,000) ในคนที่ Dx:pre-eclampsia แล้วให้ Mgso4 during labour, or after giving. พบว่าสามารถลดการเกิด eclampsia ได้ถึง 50% แต่สำหรับ deathsจากeclampsia ยังมีอยู่ แต่จากการศึกษาพบว่า mortality for treated women เป็น 55% of controls (95% CI =26-114)
นอกจากนี้การใช้ MgSo4 นอกจากใช้เพื่อ anticonvulsant แล้ว ยังสามารถลดอัตราการตายจาก, renal failure, pulmonary embolism, and infection และที่สำคัญสามารถลดการเกิด placental abruption ได้อย่างมีนัยสำคัญ
สำหรับจะเริ่มให้เมื่อBPเท่าไหร่ dose เท่าไหร่ ก็เหมือนguideline ที่เรารู้แหล่ะ คาดว่าคงเอามาจากอันนี้ อ่านเพิ่มเติมได้ใน web ข้างล่างนะ ขอบอกดีมั่กๆ ล่างๆ web นี้ ส่วนที่เป็น Rapid Responses ก็ดีมั่กๆ เช่นกัน click เข้าไปอ่าน full text ได้เลย ถ้าขี้เกียจก็อ่าน absctract ของแต่ละอันก็ได้ (มีอยู่ 9 หัวข้อนะ ดีมั่กๆ รับรอง อ.block สูติ เป็นปลื้ม)
ไปแล้วค่า

P-A-L-I-T-A said...

ลืมบอกweb

http://www.bmj.com/cgi/content/full/325/7365/609

P-A-L-I-T-A said...

อีก journal update สุดๆ เลยค่า
Labetalol Versus MgSO4 for the Prevention of Eclampsia Trial
by Utah HealthCare Institute April 2007
(กำลังอยู่ในช่วงทดลองอ่ะนะ แต่คิดว่าน่าติดตาม)

Condition Intervention Phase
Preeclampsia
Pregnancy Induced Hypertension
Gestational Hypertension
Chronic Hypertension/Superimposed Preeclampsia Drug: labetalol (seizure prevention)
Drug: MgSO4 (seizure prevention) Phase II
Phase III

Study Type: Interventional
Study Design: Prevention, Randomized, Open Label, Active Control, Parallel Assignment, Bio-equivalence Study
http://clinicaltrials.gov/ct/gui/show/NCT00293735?order=1