Evidence Based Medicine in Hatyai Hospital,Thailand: Assignment I
Therapeutic:กนกทิพ ทองผ่อง
Patient Profile หญิงไทย อายุ 18 ปี ภูมิลำเนา อ.สะเดา จ.สงขลา
C.C ปวดท้องมา 2 วัน PTA
PI. 2 วัน PTA มีอาการปวดแสบ บริเวณลิ้นปี่ เป็นๆหายๆ ไม่มีร้าวไปที่ใด มักเป็นมากเวลาท้องว่าง ดีขึ้นหลังทานยาลดกรด มีคลื่นไส้อาเจียน 1 ครั้งเป็นอาหารที่ทาน
1 วัน PTA มีอาการปวดแสบที่ลิ้นปี่ ไม่ได้ร้าวไปไหน เป็นมากขึ้น จึงมารพ. ไม่มีคลื่นไส้อาเจียน ไม่ไข้ ปัสสาวะอุจจาระปกติ
PH. มีประวัติเป็นโรคกระเพาะเป็นๆหายๆมา 3 ปี รับยาที่อนามัยใกล้บ้านเป็นครั้งคราว
ปฏิเสธการแพ้ยาแพ้อาหาร
ปฏิเสธโรคทางพันธุกรรม
ไม่ได้ใช้ยาใดๆเป็นประจำ
ไม่ดื่มเหล้าสูบบุหรี่
PE. V/S: BT 37.1 C, BP 120/80 mmHg, RR 16, PR 70
GA:A Thai woman ,Good consciousness
HEENT:Not pale conjunctiva,No icteric sclera
Heart:Normal s1s2 ,No murmur
Lung:clear both lung right=left , no wheezing , no crepitationAbdomen: soft , mild tender at epigastrium ,no guarding, no rebound tenderness, active bowel soundExtremities: no edema Neurological examination – normal
Imp. GU
Rx. -Omeprazol
-Antacid
ได้ยาไป 1 อาทิตย์
Q:ควรรักษาโดยการให้ยาชนิดใด นานเท่าไร และควรพิจารณาให้ ATB (เพื่อกำจัด H.pylori)เมื่อไร จึงจะลดการกลับเป็นซ้ำได้ดีที่สุด
Diagnosis:กนกทิพ ทองผ่อง
Patient Profile ชายไทยคู่ อายุ 68 ปี ภูมิลำเนา อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา
C.C หมดสติมา 2 ชม. PTA
PI. 2 ชม. PTA ขณะนั่งรับประทานอาหารเย็นบนโต๊ะทานอาหาร อยู่ๆผู้ป่วยก็เป็นลมหมดสติล้มลง ไม่มีชักเกร็ง ไม่มีอุจจาระปัสสาวะราด ไม่ไข้ ก่อนหน้านี้ประมาณ 1 วันเคยบ่นปวดหัวนอกจากนี้ก็สบายดีมาตลอด
PH. ปฏิเสธโรคประจำตัว(ไม่เคยตรวจเช็คสุขภาพมาก่อน)
ปฏิเสธการแพ้ยาแพ้อาหาร
ปฏิเสธโรคทางพันธุกรรม
ไม่ได้ใช้ยาใดๆเป็นประจำ
ไม่ดื่มเหล้า,สูบบุหรี่วันละ 1 ซองมา 10 ปี
PE. V/S: BT 37.4 C, BP 180/100mmHg, RR 60, PR 92
GA:A Thai man ,Coma
HEENT:Not pale conjunctiva,No icteric sclera
Heart:Normal s1s2 ,No murmur
Lung: clear both lung right=left , no wheezing , no crepitation
Abd:soft, active bowel sound
Ext: no edema
Neurological Examination
-Cerebral function:Level of consciousness- –coma
-Motor and sensory: can not evaluation
-CN 1 : can not evaluation
-CN 2: can not evaluation
-CN 3,4,6: pupil diameter 3 cm. BRTL
- CN 5,7-12: can not evaluation
-DTR: 3+ all extremities
-BBK:Dorsiflex
-Cerebellar sign: can not evaluation
-Meningeal sign:no stiffness of neck
แพทย์ให้การวินิจฉัยว่าเป็น stroke
Q:จะวินิจฉัยแยกชนิดของ stroke(เช่น ischemic)เบื้องต้น โดยอาศัยข้อมูลจากการซักประวัติ ตรวจร่างกาย ได้อย่างไรบ้าง(ไม่รวม investigation)
7 comments:
Case Stroke อ่านะ
เคยอ่านเจอในเวชปฏิบัติโรคทางระบบประสาทของโรงพยาบาลศิริราช
เค้ามีเครื่องมือ คือ SSS < siriraj stroke score >
= 2.5xconscious + 2 x headache + 2 x vomit + 0.1x diastolic pressure - 3xartheroma - 12
ถ้าได้ค่า <= 0 infarct แต่ถ้า >= 1 hemoorrahge อาจต้องส่งทำ cT
Specificcity 95%
sensitivity 90%
เพื่อนๆ คนอื่นว่าอย่างไรบ้างค่ะ...
ลืมบอกวิธีการคิดคะแนนไป แฮะๆๆ
โดยให้คะแนน ดังนี้
Conscious
0 alert
1 drowsy ,stupor
2 semicoma, coma
Vomit/headache
0 no
1 yes
Artheroma ( Dm , angina, Claudication)
0 none
1 one/more
ซึ่งอีตาลุงคนนี้ คำนวณได้
= 2.5x 2 + 2 x 1 + 2 x 0 + 0.1x 100 - 3x0 - 12
= 5 + 2 +0 +10 -0 -12
= 5 ทำให้สงสัยว่าน่าจะมี Intracerebral Hemorrhage ควรพิจารณาใส่ tube และ CT พร้อมทั้ง active management ต่อไป
comment case Therapeutic นะครับ อ้างอิงจาก guideline ของกลุ่มวิจัยโรคกระเพาะอาหาร สมาคมแพทย์ระบบทางเดินอาหารแห่งประเทศไทย Evidence based clinical practice guideline พ.ศ.2548
1.ผู้ป่วยที่ควรได้รับการกำจัดเชื้อ H.Pylori ได้แก่
-Duodenal ulcer
-Gastric ulcer
-หลังผ่าตัดมะเร็งกระเพาะอาหาร
-MALT Lymphoma
-Severe erosive และ/หรือ hemorrhagic gastritis
-severe erosive duodenitis
2.สูตรยาantibiotics ที่แนะนำซึ่งได้ผลกำจัดเชื้อได้อย่างน้อย 80% โดย intention to treat basis ได้แก่
Lanzoprazole300mg oral bid pc or Omeprazole20mg oral bid ac or
Ranitidine bismuth citrate400mg oral bid pc + Clarithromycin500mg oral bid pc
+ Amoxycillin or Metronidazole400mg oral bid pc
โดยระยะเวลาที่ให้นาน 7 วัน
3. หลังรักษาโดยทั่วไปไม่จำเป็นต้องยืนยันว่ากำจัดเชื้อได้แล้วซ้ำอีก ยกเว้นรายที่ มีcomplicated ulcer,มี recurrent symptom หรือมีhigh risk gastric cancer โดยยาantibioticsที่ให้เพื่อกำจัดเชื้อซ้ำ กรณีที่ใช้สูตรยาที่มี Clarithromycin และ amoxycillin อาจใช้ยาสูตรเดิมซ้ำได้อีก กรณีที่เดิมใช้ methronidazole ให้เปลี่ยนเป็น amoxycillin หรือถ้าเดิมใช้ Lansoprazole หรือOmeprazole อาจเปลี่ยนเป็น RBC แทน ในการรักษาซ้ำให้ยานานขึ้นเป็น 14 วัน
" พิมพ์กันเหนื่อยเลย "
ขอบคุณเพื่อนๆที่เข้ามาแสดงความคิดเห็นค่ะ
ไม่เป็นไรอ่ะ เรื่องจิ๊บๆๆ
มันไม่นก(เด็กๆ)มากเรยค่ะ...
น้องไฝที่รัก
มีคนpostมากมายแล้ว เค้าคงไม่ต้องpostแล้วนะ
คนตั้งคำถามทั้งสวยทั้งเก่งอ่ะ คนเลยpostเยอะ
Post a Comment