Wellcome to EBM group

ยินดีต้อนรับน้องๆทุกคนค่ะ ขอให้มีความสุขและสนุกกับการเรียนEvidence Based Medicine ของภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชนโรงพยาบาลหาดใหญ่


Staffs


08/07/2007

Evidence Based Medicine in Hatyai Hospital,Thailand: Assignment I

Evidence Based Medicine in Hatyai Hospital,Thailand: Assignment I
DIAGNOSIS
Patient Profile : ผู้ป่วยชายไทยอายุ 17 ปี นักเรียนวิทยาลัยอาชีวศึกษาแห่งหนึ่งในจังหวัดสงขลา
Chief Compliant : ถูกแทงบริเวณชายโครงขวาล่างมา 30 นาทีก่อนมาโรงพยาบาล
Present Illness : 30 นาทีก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยและพวกทะเลาะกับกลุ่มคู่อริ มีการใช้อาวุธ ผู้ป่วยถูกแทงด้วยมีดยาวเข้าบริเวณชายโครงขวาล่าง 1 ครั้งและบริเวณแขนขวา 1 ครั้ง และถูกกระแทกด้วยของแข็งอย่างแรงที่บริเวณหน้าท้องจนผู้ป่วยล้มลง มีเลือดออกที่บริเวณแขนขวาและบริเวณชายโครงขวาล่างตรงตำแหน่งที่ถูกแทง ไม่หมดสติ เพื่อนจึงรีบนำส่งโรงพยาบาล
Past History : เคยประสบอุบัติเหตุล้มรถจักรยานยนต์และได้รับวัคซีนป้องกันบาดทะยักเมื่อ 4 เดือนก่อน ประวัติอย่างอื่นไม่มีนัยสำคัญ
Physical examination : Vital signs BT 37.1 C ,RR 20/min ,PR 80/min,BP 100/70 mmHg
GA - a young Thai man , good consciousness E4V5M6
HEENT - not pale , no jaundice
Heart - normal s1 s2 , no murmur
Lung - laceration wound 4 cm with active bleeding at right lower chest , right lung decrease breath sound, no wheezing , no crepitation
Abdomen : mild distension , soft ,active bowel sound
Extremities- laceration wound 4 cm at right arm with active bleeding, no edema
Neurological exam – normal
Management : หลังซักประวัติและตรวจร่างกาย และการดูแลเบื้องต้นที่ห้องฉุกเฉิน แพทย์สงสัยว่าอาจมี intraperitoneal free fluid จึงทำ FAST (fundoscopic assesement sonography in trauma) พบว่ามี intraperitoneal free fluid จึงทำการ set OR for laparoscope
Problem : การทำ FAST สามารถวินิจฉัยภาวะ intraperitoneal free fluidในผู้ป่วย blunt abdominal trauma ได้เทียบเท่าการทำ DPL(diagnostic peritoneal lavage) หรือไม่ ?
P : ผู้ป่วย blunt abdominal trauma
I: FAST
C: DPL
O: ความสามารถในการวินิจฉัย intraperitoneal free fluid
นศพ.กิตติศักดิ์

2 comments:

P-A-L-I-T-A said...

เท่าที่พอจะsearchเจอนะคะพี่หลวง จาก
Evaluation of focussed assessment with sonography in trauma (FAST) by UK emergency physicians
J Brenchley1, A Walker2, J P Sloan3, T B Hassan4 and H Venables5
method: prospective observational study (N=153)
ผู้ป่วยที่ทำ FAST เปรียบเทียบผลกับother investigations, laparotomy, postmortem examination, or observation
พบว่า FAST มี sensitivity 78% and specificity 99%
จากผลการศึกษาสรุปว่า FAST is a highly specific ในการ "rule in" และมีประโยชน์ใน initial assessment ของผู้ป่วย trauma เนื่องจากทำได้ง่าย ไม่invasiveต่อผู้ป่วย
จากความรู้ เดิม DPL มี sensitivity 95.7%, specificity 96.3%, PPV 95.7%, NPV 96.3%
ดังนั้นที่พี่หลวงถามไว้ว่าเทียบเท่าหรือไม่ ก็คงไม่เท่ากัน แต่เมื่อคำนึงถึงหลายๆ อย่าง ก็คิดว่าการทำFAST เพื่อscreening intraperitoneal fluid น่าจะเป็นวิธีที่ดี
สำหรับข้อเสียของ FAST คือ ขึ้นกับความชำนาญของผู้อ่านultrasound และอาจจะดูลำบากในคนอ้วน เป็นต้น
อีกเรื่องที่อยากให้ดูคือ เป็น telephone survey ของ 109 individual doctors (45 emergency physicians, 64 general surgeons) for trauma victims in Taiwan in June 2002 พบว่า: Most respondents preferred FASTมากกว่า DPL (อ่านเพิ่มเองนะจ๊ะ)
http://emj.bmj.com/cgi/content/full/23/6/446
http://www.pubmedcentral.nih.gov/articlerender.fcgi?tool=pubmed&pubmedid=17140344
http://emj.bmj.com/cgi/content/abstract/22/2/113

kittisak said...

ขอบคุณคร้าบบบ