Wellcome to EBM group

ยินดีต้อนรับน้องๆทุกคนค่ะ ขอให้มีความสุขและสนุกกับการเรียนEvidence Based Medicine ของภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชนโรงพยาบาลหาดใหญ่


Staffs


08/07/2007

ปัญหาด้านการรักษา โดยนักศึกษาแพทย์ เนติกรณ์ ผิวทอง
Case หญิงไทยคู่ อายุ 32 ปี
CC: มีก้อนบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ 3 สัปดาห์ PTA
PI: 3 สัปดาห์ก่อนมาโรงพยาบาล เริ่มมีก้อนบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ด้ายซ้าย โดยเริ่มจากมีลักษณะแดงขึ้นมาก่อน จากนั้นจึงบวมและตึงมากขึ้นเรื่อยๆ ไม่มีน้ำใสๆหรือน้ำหนองไหลจากบริเวณดังกล่าว และไม่มีอาการร่วมอื่นๆ ผู้ป่วยได้ซื้อยาแก้อักเสบรับประทานเมื่อประมาณ 1 สัปดาห์ก่อนมาโรงพยาบาล หลังจากรับประทานพบว่าอาการไม่ดีขึ้นจึงตัดสินใจมาโรงพยาบาลหาดใหญ่
PH: ปฏิเสธโรคประจำตัวใดๆ เช่น เบาหวาน, ความดันโลหิตสูง
ปฏิเสธการแพ้ยาแพ้อาหาร
OB-GYN: ปฎิเสธโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
คุมกำเนิดโดยยาเม็ดคุมกำเนิด
แต่งงานแล้วแต่ยังไม่มีบุตร
PE: V/S : stable, afebrile
GA: Good conciousness
HEENT: not pale, no jaundice
HEART and LUNG: WNL
ABDOMEN: soft, not tender ,active BS, no guarding, no abnormal mass
PV:NIUB: mass ~3*3 cm at 7 o clock, warmth, smooth surface, no discharge, fluctuation
การตรวจภายในอื่นๆไม่สามารถกระทำได้ เนื่องจากผู้ป่วยปวดบริเวณก้อนมาก
Dx: Bartholin abcess
Tx. Marsupialization
ปัญหาในการรักษา : การให้การรักษา Bartholin abcess โดยวิธีการ Marsupialization เปรียบเทียบกับการทำ Incision and drainage ให้ผลการรักษาหายขาดแตกต่างกันหรือไม่
การตั้งคำถามเพื่อค้นหาแหล่งข้อมูล
P ผู้ป่วยที่เป็น Bartholin abcess
I การทำ Marsupialization
C การทำ Incision and drainage
O การรักษาBatholin abcess ได้หายขาด

1 comment:

nicha said...

น้องดิว...จิงๆแร้วเท่าที่พอจับใจความมาได้ตอนเรียนสูตินะ ถ้าเป็น abcess ก้อทำ I&D แต่ถ้าการทำ mazu เนี่ยเอาไว้ทำกับ cyst มากกว่าใช่มะ แต่ตกลงเราไปค้นมาก่อนดีฟ่า บ๊ายบาย