Wellcome to EBM group

ยินดีต้อนรับน้องๆทุกคนค่ะ ขอให้มีความสุขและสนุกกับการเรียนEvidence Based Medicine ของภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชนโรงพยาบาลหาดใหญ่


Staffs


27/01/2011

EBM Home Work (Therapy) : นศพ.ชัชฎาภรณ์

case : หญิงไทยคู่ อายุ 65 ปี

Chief complaint : เวียนศีรษะประมาณ 1 ชั่วโมงก่อนมารพ.

Present illness : 1 ชั่วโมงก่อนมารพ. ผู้ป่วยรู้สึกเวียนศีรษะ อ่อนเพลีย ขาทั้ง 2 ข้างรู้สึกอ่อนแรง ขากรรไกรชาทั้ง 2 ข้าง แน่นหน้าอก จึงมาพบแพทย์

Past history : - underlying disease เป็น HT,DLP
- ปฏิเสธประวัติแพ้ยาแพ้อาหาร

Personal history : - มีประวัติสูบบุหรี่ 3-4 มวน/วัน
- ปฏิเสธประวัติดื่มสุรา

Family history : พี่สาวเป็น HT

PE : V/S : BT 36.7c, PR 60/min, RR 22/min, BP 160/96mmHg
GA: elderly thin Thai woman, good consciousness, look fatigue
HEENT: not pale, no jaundice
Heart: normal S1S2, no murmur
Lung: clear
Abdomen: soft, not tender, no guarding, active bowel sound, no hepatosplenomegaly
Extremities: no pitting edema, no rash

Laboratory
DTX 155 mg%
SpO2 100 %
Pain score 5/10
ECG : Normal sinus rhythm
Left atrial enlargement
Left ventricular hypertrophy
Nonspecific T wave abnormality
Prolonged QT
Abnormal ECG

Impression : NSTEMI

Treatment : -Admit
-On NSS , MO 3 mg IV
-ISDN (5 mg) 1 tab

Home medication :
  1. ISDN (10 mg) 1 tab TID AC
  2. Simvastatin (20 mg) 1 tab OD PC
  3. Aspirin (80 mg) 1 tab OD PC
  4. HCTZ (25 mg) 1 tab OD PC
  5. Atenolol (50 mg) 2 tab OD PC
  6. ISDN (5 mg) SL 1 tab CH pain

ประเด็นปัญหาทางคลินิก

ผู้ป่วยรายนี้อยู่ในภาวะ Hypertensive emergency เนื่องจากมีระดับความดันโลหิตสูง และมี target organ damage คือ coronary ischemia ปกติในผู้ป่วย MI มักจะให้ Nitroglycerine เพื่อลด myocardial O2 consumption และเพิ่ม flow ไปยังบริเวณที่ขาดเลือด ถ้าไม่มี sign HF จะใช้ beta-blocker ช่วยในการควบคุมระดับความดันโลหิต ซึ่งในผู้ป่วยรายนี้ได้ใช้ยาทั้ง 2 ชนิด คือ HCTZ + Atenolol ในการควบคุมระดับความดันโลหิต

Question : การให้ HCTZ ร่วมกับ Atenolol ในการควบคุมระดับความดันโลหิต จะมีประสิทธิภาพมากกว่าการให้ HCTZ หรือAtenolol เพียงอย่างเดียวหรือไม่

Patient: Patient with HT, MI and DLP

Intervention: HCTZ + Atenolol

Comparison: HCTZ or Atenolol

Outcome: ประสิทธิภาพในการควบคุมระดับความดันโลหิต



2 comments:

APIWICH said...

คำถามดีอ่ะครับ แต่อยากรู้ว่าจำเป็นต้องกำหนดอายุคนไข้ และประวัติโรคประจำตัว เรื่อง MI HT DLP ว่าเป็นมากี่ปีแล้ว หรือเคยได้รับการรักษาอะไรมาก่อนแล้วบ้างมั้ยอ่ะครับ

May Jarassri said...

ก็น่าสนใจในการจะศึกษานะคะ ที่อ่านเจอมา Atenolol มีผลข้างเคียงเหมือนกันนะคะ เขาบอกว่า Atenolol สามารถทำให้ระดับไขมันผิดปกติได้โดยเฉพาะมีผลเพิ่มไตรกลีเซอร์ไรด์ ลด HDL ได้ และสามารถเพิ่มระดับน้ำตาลในเลือดได้ มีผลทำให้ร่างกายมีความไวต่อ อินซูลินผิดปกติไป ไม่ทราบจริงๆเป็นอย่างไร ถ้าเกิดใช้ร่วมกันแล้วให้ประสิทธิภาพในการรักษา Hypertensive emergency ได้ดี ก็น่าจะเป็นประโยชน์ต่อคนไข้มากนะคะ ลองศึกษาดูค่ะ