CC : ไข้ 15 วัน ก่อนมาโรงพยาบาล
PI : 15 วัน PTA ไข้ต่ำ ท้องอืด ปวดทั่วๆ ท้อง
12 วัน PTA ไข้สูง ถ่ายเหลววันละ 1 ครั้ง ลักษณะสีเหลือง น้ำปนเนื้อ admit รพ.ตะโหมด มีไข้สูงตลอด ถ่ายเหลววันละ 2-3 ครั้ง มีลักษณะ
เช่นเดิม ท้องอืด รับประทานอาหารไม่ได้
รพ.ตะโหมด Tx. ampi , genta , ceftri
9 วัน PTA refer ไป รพ.พัทลุง จากตรวจมี guarding สงสัย appendicitis ที่ รพ.พัทลุง ตรวจไม่มี guarding ได้ให้การรักษา
แบบ acute febrile illness Tx. ceftri ไข้ไม่ลง ยังมีถ่ายเหลว จึงเปลี่ยนเป็น teinam ไข้สูงเป็นช่วงๆ อาการดีขึ้น รับประทานอาหาร
ได้มากขึ้น ถ่ายเหลวน้องลง ท้องอืดลดลง แต่ยังหาสาเหตุไข้ไม่ได้ ญาติต้องการมารักษาต่อที่ รพ.หาดใหญ่ จึง refer มา
PH : ปฏิเสธประวัติโรคประจำตัว
ปฏิเสธประวัติแพ้ยาและอาหาร
ปฏิเสธประวัติเข้าป่า, ลุยน้ำ แต่บ้านอยู่ในภูมิลำเนาที่มีต้นไม้และป่ายาง
ปฏิเสธคนแถวบ้านเป็นไข้เลือดออก
PE : V/S : BT 38 , RR 30 , PR 184
GA : A Thai boy , look irritable , good consciousness
HEENT : not pale , no jaundice , mild dry lips , mild sucken eyeballs
TM : normal light reflex both ears , tonsil and pharynx not injected
H&L : WNL
Abd. : soft , not tender , mark distension , hepatomegaly 3 cm. below right costal margin
Ext. : normal skin turgor , capillary refill <>
no eschar , no petechiae
Lab : Weil- Felix test -0x2 > 1:320
Diagnosis Thaitick scrub
Problem สงสัยว่า Weil- Felix test มีความแม่นยำเพียงใดในการวินิจฉัยโรค Scrub
2 comments:
จากที่เราเคยได้ทำเcase scrub จึงได้ศึกษามาบ้าง
พบว่า เมื่อเทียบการ ใช้ PCR, IF and WF test พบว่า WF test มีค่าความแม่นยำน้อยที่สุด แต่ด้วยข้อจำกดของโรงพยาบาลเราทำให้ต้อง เมื่อมีผู้ป่วย จึงต้องส่ง test นี้ และ try treat ไปก่อน
นอกจากนี้ยังมีการค้นคว้าที่ช่วยสริม
พบว่า The sensitivity of PCR, IF and WF at the early stage of infection in comparing to the reference stardard method, IF test were 90.47% , 61.90% and 14.28% respectively.อาจเป็นค่าที่ไม่แน่นอน แต่การค้นคว้าส่วนใหญ่ที่พบจะมีแนวโน้มไปในทางเดียวกัน คือ WF test มักมีค่าแม่นยำน้อยที่สุดในวินิจฉัย scrub ค่ะ
ไปอ่านเจอจากงานวิจัยของศูนย์ข้อมูลโรคติดต่อและพาหะนำโรคนะ
Weil felix test เป็นการตรวจวินิจฉัยที่ง่ายและใช้กันอย่างแพร่หลายในโรคติดเชื้อ rickettsia โดยอาศัยปฏิกิริยา agglutination ข้ามกลุ่มระหว่าง rickettsial antigenกับ proteus OX antigen คณะผู้วิจัยได้ประเมินผลการตรวจ WF OXK ในผู้ป่วย scrub typhus และ WF OX19 ในผู้ป่วย murine typhus โดยใช้วิธี indirect immunofluorescence (IFA) เป็นวิธีมาตรฐาน โดยศึกษาในผู้ป่วย scrub typhus จำนวน 63 ราย เป็น pair serum 54 ราย single serum 9 ราย รวม 117 sera และในกลุ่มควบคุม 75 ราย ประกอบด้วย leptospirosis (IFA มากกว่า 1 : 400)28 ราย, Dengue (HI titer มากกว่าหรือเท่ากับ 1:10,240) 20 ราย และ murine typus (IFA titer มากกว่า 1:400) 27 ราย พบว่าที่ระดับ significant titer มากกว่าหรือเท่ากับ 1:160 WF-OXK มี sensitivity 52.4 เปอร์เซ็นต์ specificity 93.3 เปอร์เซ็นต์ และ sensitivity ของการตรวจใน acute serum 43 เปอร์เซ็นต์ สำหรับผู้ป่วย murine typhus จำนวน 47 ราย เป็น pair serum 27 ราย single serum 20 ราย รวม 74 sera และกลุ่มควบคุม 47 ราย ประกอบด้วย leptospirosis 13 ราย เป็น pair serum 27 ราย single serum 20 รวม 74 sera และกลุ่มควบคุม 47 ราย ประกอบด้วย leptospirosis 13 ราย Dengue 15 ราย และ scrub typhus (IFA titer มากกว่าหรือเท่ากับ 1:400) 19 ราย ที่ระดับ significant titer มากกว่าหรือเท่ากับ 1:160 WF OX19 มี sensitillity 81 เปอร์เซ็นต์ specificity 96 เปอร์เซ็นต์ และ sensitvity ของ acute serum 67 เปอร์เซ็นต์ จากผลการทดลองนี้ชี้ให้เห็นว่า WF OXK ในการวินิจฉัย scrub typhus มี sensitivity ค่อนข้างสูงในระดับ significant titer มากกว่าหรือเท่ากับ 1:160
แต่ไม่รู้ว่าใช้กับเคสนี้ได้มั๊ย เพราะเคสนี้เป็นการตรวจฯ)OX2 แต่ที่คุยกับresource person เค้าก็ว่าพอๆกันแหละ แต่ยังไงการส่ง weil felixในรพ.ในไทย ก็ยังเชื่อถือไม่ค่อยได้ทั้ง sensitivity และspecitivity เพราะendermic area อาจทำให้การinterpretation ผิดพลาดได้ IFAจึงยังถือเป็นlabที่น่าเชื่อถือที่สุดในการตรวจricketsiaมากที่สุด แต่Weil Felix test ก็ยังคงเป็น test ที่สามารถใช้เป็น screening test ในโรงพยาบาลที่ไม่สามารถตรวจหา specific antibody ต่อ Ricekettsia ได้.
Post a Comment