Wellcome to EBM group

ยินดีต้อนรับน้องๆทุกคนค่ะ ขอให้มีความสุขและสนุกกับการเรียนEvidence Based Medicine ของภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชนโรงพยาบาลหาดใหญ่


Staffs


04/07/2008

Diagnosis นศพ.คณิน คะนึงวนิชกุล

ผู้ป่วยชาย อายุ 19 ปี

CC: ปวดท้องมากขึ้น 1 วัน PTA

PI: 2 วัน PTA เริ่มมีอาการปวดท้องบริเวณรอบสะดือ มีอาการไข้ อาการปวดเป็นๆ หายๆ ปวดบีบๆ ไม่ร้าวไปไหน ยังคงกินอาหารได้ปกติ ไม่มีอาการคลื่นไส้อาเจียน

1 วัน PTA ปวดมากบริเวณท้องด้านขวาของสะดือ ปวดตลอดเวลา ยังคงมีไข้ และมีอาการคลื่นไส้อาเจียนอยู่ ผู้ป่วยรู้สึกปวดมากขึ้นจึงรีบมายังโรงพยาบาล

PH:ไม่เคยได้รับการผ่าตัดใดๆ

ปฏิเสธโรคประจำตัวอื่นๆ

ปฏิเสธการแพ้ยา แพ้อาหารใดๆ

Personal history: ไม่ดื่มเหล้า ไม่สูบบุหรี่

Family history: ปฏิเสธประวัติโรคมะเร็ง และโรคติดต่อทางพันธุกรรมภายในครอบครัว

PE: V/S BT= 39.1 PR 74 /min RR 22/min BP 140/70 mmHg

GA: A Thai man, good consciousness

HEENT: Not pale , no jaundice

Heart&Lung: WNL

Abdomen: No surgical scar, no distention, no superficial vein dilate

active bowel sound, liver and spleen cant't be palpable

right lower quadrant tenderness, no mass, no rebound tenderness

Lab: CBC-HCt 43% WBC 10400 Plt 188000 Neu 79% lym 13%

Diagnosis: acute appendicitis

อยากทราบว่าการใช้ alvarado scale มีความแม่นยำเพียงใด ในการวินิจฉัย acute appendicitis

2 comments:

zulma said...

คุณเบิ้มคะ คำถามของคุณน่าสนใจมาก เนื่องจากตอนเรียนศัลย์เราก็ใช้ Alvarado score ในการวินิจฉัย acute appendicitis และจากการไปค้น journal จาก pubmed พบว่ามีหลายการศึกษาเกี่ยวกับเรื่องนี้
อ้างอิงจาก The Alvarado score and acute appendicitis.
Ann Acad Med Singapore. 2001 Sep;30(5):510-2.(เก่าไปหน่อยนะ)สรุปจาก jounal คือ PPV และ NPV of Alvarado's scoresที่คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับ 7 เท่ากับ77% และ97.6%ตามลำดับซึ่งเค้าสรุปว่า Alvarado score is a useful tool in the diagnosis of appendicitis, especially at both ends of the scale.

ps:เนื่องจากไม่มี free fulltext จึงไม่ได้ critical appraisal jounalฉบับนี้

zulma said...

ภาค 2 จ้า...คือเราอ่านเจอว่ามีการใช้ scoreหลายแบบ เช่น Samuel scores , Fenyö scale ตรงนี้เรายังไม่ได้หาข้อมูลเกียวกับ score เหล่านี้ ถ้ามีเวลาจะไปหาเพิ่มเติม
อีกการศึกษานึงที่มาให้อ่าน อ้างอิงจาก Evaluating Appendicitis Scoring Systems Using a Prospective Pediatric Cohort .
Annals of Emergency Medicine ,2007,Volume 49 , Issue 6 , Pages 778 - 784.e1
C . Schneider , A . Kharbanda , R . Bachur สรุปว่า "Although the Alvarado and Samuel scores provide measurably useful diagnostic information in evaluating children with suspected appendicitis, neither method provides sufficient PPV to be used in clinical practice as the sole method for determination of the need for surgery."

ps:ขอโทษนะคะ ณ ตอนนี้ข้าพเจ้าเมื่อยลูกตามากกรุณาแปลกันเองนะคะ