ผู้ป่วยหญิง อายุ 22 ปี G1P0 GA 37 wks. by LMP
CC: มีอาการเจ็บครรภ์คลอด 3 hrs.PTA
PI : G1P0 GA 37 wks.by LMP (LMP 14 ก.ย. 50) ฝากครรภ์ครั้งแรกที่ ร.พ.หาดใหญ่ ขณะ GA 10 wks.
มาตรวจครรภ์ตามนัดทุกครั้ง ปกติดี (Hct. 38%, Anti-HIV ,VDRL : negative)
ขณะ GA 32 wks. พบว่ามี BP 160/100 mmHg. ไม่มีอาการขาบวม
ไม่มีอาการผิดปกติใดๆ urinedipstick for albumin : negative
หลังจากนั้นเมื่อมาตรวจครรภ์พบ BPอยู่ระหว่าง 140/90 - 160/100 mmHg. ไม่มีอาการผิดปกติอื่นๆ
3 hrs.PTA มีอาการเจ็บครรภ์มากขึ้น ท้องตึงเป็นพักๆ เจ็บถี่ขึ้น นานขึ้น ไม่มีอาการปวดศีรษะ
ไม่มีตา พร่ามัว ไม่มีปวดบริเวณชายโครง ไม่มีอาการขาบวม
PE : V/S : BT 36.8 PR 80/min RR 20/min BP 160/110 mmHg.
GA: A thai female , Good consciousness
HEENT: Not pale, no jaundice
Heart &Lung: WNL
Abdomen: FH 3/4 > umbilical , FHS 148/min , position: OL , EFW: 3,300 g.
PV: Cx.dil. 4 cm. , Eff. 90% , MI , Station -2
Urinedipstick : 1+
Dx. : Preeclampsia
จึงให้การรักษาโดยให้ Hydralazine 5 mg. IV เพื่อควบคุมความดัน และช่วยเร่งคลอด
คำถาม : อยากทราบว่าสามารถใช้ยาตัวอื่นช่วยลดความดันได้หรือไม่ เทียบ ระหว่าง Hydralazine และยา Labetalol ยาชนิดใดที่มีประสิทธิภาพในการลดความดันได้ดีกว่า
1 comment:
จาก Severe hypertension in pregnancy: hydralazine or labetalol. A randomized clinical trial.
โดย Eur J Obstet Gynecol Reprod Biol. 2006 Sep-Oct;128(1-2):157-62. Epub 2006 Apr 18.
สรุปว่า ในหญิงตั้งครรภ์ที่มีความดันโลหิตสูง เมื่อได้รับยา 2 ชนิดนี้เทียบกันปรากฏว่า ให้ผลไม่แตกต่างกันในเรื่องของการลดความดัน แต่ในเรื่องของ complication labetarol จะทำให้เกิด hypotension และ bradycardia ได้มากกว่า hydralazine อย่างมีนัยสำคัญ ส่วน hydralazine จะทำให้เกิด Palpitations และ maternal tachycardia ได้มากกว่า labetarol อย่างมีนัยสำคัญ
Post a Comment