PP.ชายไทยคู่อายุ 42 ปี อาชีพ กรีดยาง ภูมิลำเนา อ.หาดใหญ่ จ.สงขลาCC. ปวดข้อนิ้วมือทั้งสองข้างมา 1 เดือนก่อนมา รพ.PI. ปวดข้อนิ้วมือทั้ง2ข้างมา 1เดือน มีอาการปวดตลอด เป็นมากเวลาใช้งานข้อนิ้วมากๆจากทำงาน แต่ถ้าได้พักอาการจะดีขึ้น ไม่มีไข้ ไม่มีอาการเจ็บร้าวไปไหนPH. เมื่อ 1 เดือนก่อน ป่วยเป็นโรค chikungunya รักษาที่โรงพยาบาลหาดใหญ่ ตอนนั้นมีอาการไข้ ผื่นแดงคันตามตัว ปวดข้อ หลังการรักษาเหลือเพียงอาการปวดข้อที่ยังไม่หาย แต่ดีขึ้น
ไม่มีโรคประจำตัวปฏิเสธการเข้ารับการผ่าตัดใดๆปฏิเสธประวัติแพ้ยาแพ้อาหารใดๆ
PE. v/s : Temp 37.0 C pulse 70/min RR 20/min BP 130/80mmHg
GA : good consciousness
HEENT : not pale, no jaundice
Heart&Lungs: normal
Abd : soft ,not tender
Ext : Hands : tender at fingers joint on movement
แพทย์ได้ให้การวินิจฉัยว่าเป็น arthalgia
Treatment
Paracetamol (500 mg) 2tab po prn q 4-6 hr.
Diclofenac (25 mg) 1 tab po tid pc
Omeprazole (20 mg) 1 tab po ac
Balm นวดบริเวณที่ปวด
จาก case ดังกล่าวข้างต้นแพทย์วินิจฉัยโรคโดยการใช้ประวัติ อาการทางคลินิกร่วมกับการตรวจทางร่างกายคำถาม ถ้าในผู้ป่วยรายนี้ไม่ได้มีการให้ยา Omeprazole อยากทราบว่าอัตราการเกิด dyspepsia ใน 1 ปี ของผู้ป่วยรายนี้เป็นเท่าไร (ถ้าสมมติว่าต้องใช้ยา NSAIDs นาน)
P Patient use Diclofenac (NSAIDs )
I Time 1 year
C -
O New Dyspepsia
This group is provided for an effective teaching and learning in EBM in Family Medicine at Hatyai Regional Hospital.
Wellcome to EBM group
ยินดีต้อนรับน้องๆทุกคนค่ะ ขอให้มีความสุขและสนุกกับการเรียนEvidence Based Medicine ของภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชนโรงพยาบาลหาดใหญ่
Staffs
30/06/2009
Therapy
PP.ชายไทยคู่อายุ 42 ปี อาชีพ กรีดยาง ภูมิลำเนา อ.หาดใหญ่ จ.สงขลาCC. ปวดข้อนิ้วมือทั้งสองข้างมา 1 เดือนก่อนมา รพ.PI. ปวดข้อนิ้วมือทั้ง2ข้างมา 1เดือน มีอาการปวดตลอด เป็นมากเวลาใช้งานข้อนิ้วมากๆจากทำงาน แต่ถ้าได้พักอาการจะดีขึ้น ไม่มีไข้ ไม่มีอาการเจ็บร้าวไปไหนPH. เมื่อ 1 เดือนก่อน ป่วยเป็นโรค chikungunya รักษาที่โรงพยาบาลหาดใหญ่ ตอนนั้นมีอากรการไข้ ผื่นแดงคันตามตัว ปวดข้อ หลังการรักษาเหลือเพียงอาการปวดข้อที่ยังไม่หาย แต่ดีขึ้น
ไม่มีโรคประจำตัวปฏิเสธการเข้ารับการผ่าตัดใดๆปฏิเสธประวัติแพ้ยาแพ้อาหารใดๆ
PE. v/s : Temp 37.0 C pulse 70/min RR 20/min BP 130/85mmHg
GA : good consciousness
HEENT : not pale, no jaundice
Heart&Lungs: normal
Abd : soft ,not tender
Ext : Hands : tender at fingers joint on movement
แพทย์ได้ให้การวินิจฉัยว่าเป็น arthalgia
Treatment
Paracetamol (500 mg) 2tab po prn q 4-6 hr.
Diclofenac (25 mg) 1 tab po tid pc
Omeprazole (20 mg) 1 tab po ac
Balm นวดบริเวณที่ปวด
จาก case ดังกล่าวข้างต้นแพทย์วินิจฉัยโรคโดยการใช้ประวัติ อาการทางคลินิกร่วมกับการตรวจทางร่างกายจากประสบการณ์เดิม เคยเห็นแพทย์บางคนให้ Ranitidine บางคนให้ Omeprazole ในการป้องกันการเกิด Dyspepsia จากการใช้ NSAIDs
คำถาม การใช้ยา Omeprazole สามารถช่วยป้องกันการเกิด dyspepsia จากการใช้ยา NSAIDs ได้ดีกว่าการใช้ยา Ranitidine หรือไม่
P Patient use Diclofenac (NSAIDs)
I Omeprazole
C Ranitidine
O Prophylaxis dyspepsia
ไม่มีโรคประจำตัวปฏิเสธการเข้ารับการผ่าตัดใดๆปฏิเสธประวัติแพ้ยาแพ้อาหารใดๆ
PE. v/s : Temp 37.0 C pulse 70/min RR 20/min BP 130/85mmHg
GA : good consciousness
HEENT : not pale, no jaundice
Heart&Lungs: normal
Abd : soft ,not tender
Ext : Hands : tender at fingers joint on movement
แพทย์ได้ให้การวินิจฉัยว่าเป็น arthalgia
Treatment
Paracetamol (500 mg) 2tab po prn q 4-6 hr.
Diclofenac (25 mg) 1 tab po tid pc
Omeprazole (20 mg) 1 tab po ac
Balm นวดบริเวณที่ปวด
จาก case ดังกล่าวข้างต้นแพทย์วินิจฉัยโรคโดยการใช้ประวัติ อาการทางคลินิกร่วมกับการตรวจทางร่างกายจากประสบการณ์เดิม เคยเห็นแพทย์บางคนให้ Ranitidine บางคนให้ Omeprazole ในการป้องกันการเกิด Dyspepsia จากการใช้ NSAIDs
คำถาม การใช้ยา Omeprazole สามารถช่วยป้องกันการเกิด dyspepsia จากการใช้ยา NSAIDs ได้ดีกว่าการใช้ยา Ranitidine หรือไม่
P Patient use Diclofenac (NSAIDs)
I Omeprazole
C Ranitidine
O Prophylaxis dyspepsia
28/06/2009
Therapy--นศพ.เสถียรพงษ์ ลิ่มบัณฑิต
PP : เด็กไทย อายุ 1 ปี
CC : หอบมากขึ้น 1 วันก่อนมาโรงพยาบาล
PI : 1 วันก่อนมาโรงพยาบาล เริ่มมีอาการไข้สูง มีน้ำมูก หอบ หายใจเร็ว ดื่มนมได้น้อยลง
PH : ปฏิเสธโรคประจำตัว
ปฏิเสธการเข้ารับการผ่าตัด
ปฏิเสธประวัติแพ้ยาแพ้อาหาร
PE : v/s : BT 38 C PR 120/min RR 40/min BP 90/60 mmHg
GA : good consciousness, look sick, fatigue
HEENT : not pale, no jaundice, nasal flaring
Heart : WNL
lung : wheezing both lungs, prolong expiratory phase, hype resonance on percussion
Abdomen : no distention, soft, not tender, no mass
Question : การใช้ oral dexamethasone+nebulized epinephrine รักษาผู้ป่วย acute bronchiolitis สามารถช่วยลดระยะเวลาการนอนอยู่โรงพยาบาลได้มากกว่าการใช้ nebulized epinephrine อย่างเดียวหรือไม่
P : เด็กชาย อายุ 1 ปี เป็น acute bronchiolitis
I : oral dexamethasone+nebulized epinephrine
C : nebulized epinephrine
O: hospitalization
CC : หอบมากขึ้น 1 วันก่อนมาโรงพยาบาล
PI : 1 วันก่อนมาโรงพยาบาล เริ่มมีอาการไข้สูง มีน้ำมูก หอบ หายใจเร็ว ดื่มนมได้น้อยลง
PH : ปฏิเสธโรคประจำตัว
ปฏิเสธการเข้ารับการผ่าตัด
ปฏิเสธประวัติแพ้ยาแพ้อาหาร
PE : v/s : BT 38 C PR 120/min RR 40/min BP 90/60 mmHg
GA : good consciousness, look sick, fatigue
HEENT : not pale, no jaundice, nasal flaring
Heart : WNL
lung : wheezing both lungs, prolong expiratory phase, hype resonance on percussion
Abdomen : no distention, soft, not tender, no mass
Question : การใช้ oral dexamethasone+nebulized epinephrine รักษาผู้ป่วย acute bronchiolitis สามารถช่วยลดระยะเวลาการนอนอยู่โรงพยาบาลได้มากกว่าการใช้ nebulized epinephrine อย่างเดียวหรือไม่
P : เด็กชาย อายุ 1 ปี เป็น acute bronchiolitis
I : oral dexamethasone+nebulized epinephrine
C : nebulized epinephrine
O: hospitalization
Diagnosis--นศพ.เสถียรพงษ์ ลิ่มบันฑิต
PP : ชายไทย อายุ 30 ปี
CC : ปัสสาวะแสบขัดและมีหนองไหลออกจากท่อปัสสาวะ 1 วัน ก่อนมาโรงพยาบาล
PI : 1 วันก่อนมาโรงพยาบาล เริ่มมีอาการปัสสาวะแสบขัด ปัสสาวะไม่สุดและมีหนองไหลออกจากท่อปัสสาวะ ก่อนหน้านี้ได้ไปเที่ยวผู้หญิงมา ไม่ได้สวมถุงยางอนามัย
PH : ปฏิเสธโรคประจำตัว
ปฏิเสธการเข้ารับการผ่าตัด
ปฏิเสธประวัติแพ้ยาแพ้อาหาร
PE : v/s : BT 37 C PR 75/min RR 20/min BP 120/80 mmHg
GA : good consciousness
HEENT : not pale, no jaundice
Heart and lung : WNL
Abdomen : no distention, soft, not tender, no mass
Genitalia : Pus per genitalia
Question : ในผู้ป่วยที่สงสัยว่าเป็น Gonorrhea การใช้ Clinical symptom จะช่วยวินิจฉัยโรค Gonorrhea ได้แม่นยำเพียงใด เมื่อเทียบกับการทำ Gram stain
P : เพศชาย อายุ 30 ปี เป็น Gonorrhea
I : Clinical symptom
C : Gram stain
O: Diagnosis of Gonorrhea
CC : ปัสสาวะแสบขัดและมีหนองไหลออกจากท่อปัสสาวะ 1 วัน ก่อนมาโรงพยาบาล
PI : 1 วันก่อนมาโรงพยาบาล เริ่มมีอาการปัสสาวะแสบขัด ปัสสาวะไม่สุดและมีหนองไหลออกจากท่อปัสสาวะ ก่อนหน้านี้ได้ไปเที่ยวผู้หญิงมา ไม่ได้สวมถุงยางอนามัย
PH : ปฏิเสธโรคประจำตัว
ปฏิเสธการเข้ารับการผ่าตัด
ปฏิเสธประวัติแพ้ยาแพ้อาหาร
PE : v/s : BT 37 C PR 75/min RR 20/min BP 120/80 mmHg
GA : good consciousness
HEENT : not pale, no jaundice
Heart and lung : WNL
Abdomen : no distention, soft, not tender, no mass
Genitalia : Pus per genitalia
Question : ในผู้ป่วยที่สงสัยว่าเป็น Gonorrhea การใช้ Clinical symptom จะช่วยวินิจฉัยโรค Gonorrhea ได้แม่นยำเพียงใด เมื่อเทียบกับการทำ Gram stain
P : เพศชาย อายุ 30 ปี เป็น Gonorrhea
I : Clinical symptom
C : Gram stain
O: Diagnosis of Gonorrhea
Diagnosis นศพ. เจริญลักษณ์ คงดำเนิน
PP : ชายไทย อายุ 50 ปี
CC : ถ่ายเป็นเลือดมา3 วัน ก่อนมาโรงพยาบาล
PI : 2เดือนก่อนมาโรงพยาบาล เริ่มมีอาการท้องผูกเป็นประจำครั้งละ3-4วัน หลังจากนั้นก้อจะมีอาการถ่ายเหลวตามมา มีอาการท้องอืดบ้างตอนท้องผูก แต่หลังจากถ่ายก็ปกติดี น้ำหนักลดลง7กิโลกรัม และมักมีอาการเป็นไข้ต่ำๆ เป็นๆหายๆ มาตลอด ช่วงหลังๆเวลาถ่ายเหลว สังเกตเห็มมีสีดำๆ เหมือนเลือด จึงมาพบแพทย์ที่โรงพยาบาล
PH : เป็นบิดาเสียชีวิตจากโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ เมื่ออายุ55ปี
PE : v/s BT 37.4 C PR 95/min RR 22/min BP 100/70 mmHg
GA : good consciousness
HEENT : mild pale, no jaundice
Heart and lung : WNL
Abdomen : mild distention, soft, not tender, no mass
Question : ในผู้ป่วยที่สงสัยว่าเป็นมะเร็งลำไส้ การทำ PET Scan จะช่วยวินิจฉัยมะเร็งได้แม่นยำเพียงใด เมื่อเทียบกับการตัดชิ้นเนื้อส่งพยาธิ
P : เพศชาย อายุ 50 ปี สงสัย CA Colon
I : PET Scan
C : Biopsy
o : Diagnosis of CA Colon
CC : ถ่ายเป็นเลือดมา3 วัน ก่อนมาโรงพยาบาล
PI : 2เดือนก่อนมาโรงพยาบาล เริ่มมีอาการท้องผูกเป็นประจำครั้งละ3-4วัน หลังจากนั้นก้อจะมีอาการถ่ายเหลวตามมา มีอาการท้องอืดบ้างตอนท้องผูก แต่หลังจากถ่ายก็ปกติดี น้ำหนักลดลง7กิโลกรัม และมักมีอาการเป็นไข้ต่ำๆ เป็นๆหายๆ มาตลอด ช่วงหลังๆเวลาถ่ายเหลว สังเกตเห็มมีสีดำๆ เหมือนเลือด จึงมาพบแพทย์ที่โรงพยาบาล
PH : เป็นบิดาเสียชีวิตจากโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ เมื่ออายุ55ปี
PE : v/s BT 37.4 C PR 95/min RR 22/min BP 100/70 mmHg
GA : good consciousness
HEENT : mild pale, no jaundice
Heart and lung : WNL
Abdomen : mild distention, soft, not tender, no mass
Question : ในผู้ป่วยที่สงสัยว่าเป็นมะเร็งลำไส้ การทำ PET Scan จะช่วยวินิจฉัยมะเร็งได้แม่นยำเพียงใด เมื่อเทียบกับการตัดชิ้นเนื้อส่งพยาธิ
P : เพศชาย อายุ 50 ปี สงสัย CA Colon
I : PET Scan
C : Biopsy
o : Diagnosis of CA Colon
Therapy นศพ. เจริญลักษณ์ คงดำเนิน
PP : ชายไทย อายุ 22 ปี
CC : สิวเห่อ 1 อาทิตย์ก่อนมาโรงพยาบาล
PI : 1 อาทิตย์ก่อนมาโรงพยาบาล เริ่มรู้สึกว่ามีสิวอักเสบขึ้นประมาน3เม็ดและสิวอุดตันจำนวนมาก จึงไปแกะและบีบสิวทั้งที่อักเสบและไม่อักเสบ หลังจากนั้นจึงมีสิวอักเสบเห่อขึ้นเต็มหน้า
PH : เป็นสิวตั้งแต่อายุ15ปี เคยรักษาตามคลินิกสิว เป็นๆหายๆ ช่วงหลังไม่ได้ทายาหรือกินยารักษาสิวมา2ปีแล้ว
PE : v/s BT 36.8 C PR 70/min RR 20/min BP 120/70 mmHg
GA : good consciousness
HEENT : not pale, no jaundice
Heart and lung : WNL
skin : multiple discrete erythematous papule, pustule and nodule on face and neck, many comedones has seen on face with both white and black heads
Question : ในผู้ป่วยสิวที่มีอาการของ severe acne การใช้ยาในกลุ่ม third generation ของ Isotretinoin จะได้ผลดีกว่าการรักษาแบบเดิมหรือไม่
P : เพศชาย อายุ 22 ปี เป็น severe acne vulgaris
I : Adapalene gel 0.1%
C : Isotretinoin cream 0.01%
o : efficacy of treatment of acne vulgaris
CC : สิวเห่อ 1 อาทิตย์ก่อนมาโรงพยาบาล
PI : 1 อาทิตย์ก่อนมาโรงพยาบาล เริ่มรู้สึกว่ามีสิวอักเสบขึ้นประมาน3เม็ดและสิวอุดตันจำนวนมาก จึงไปแกะและบีบสิวทั้งที่อักเสบและไม่อักเสบ หลังจากนั้นจึงมีสิวอักเสบเห่อขึ้นเต็มหน้า
PH : เป็นสิวตั้งแต่อายุ15ปี เคยรักษาตามคลินิกสิว เป็นๆหายๆ ช่วงหลังไม่ได้ทายาหรือกินยารักษาสิวมา2ปีแล้ว
PE : v/s BT 36.8 C PR 70/min RR 20/min BP 120/70 mmHg
GA : good consciousness
HEENT : not pale, no jaundice
Heart and lung : WNL
skin : multiple discrete erythematous papule, pustule and nodule on face and neck, many comedones has seen on face with both white and black heads
Question : ในผู้ป่วยสิวที่มีอาการของ severe acne การใช้ยาในกลุ่ม third generation ของ Isotretinoin จะได้ผลดีกว่าการรักษาแบบเดิมหรือไม่
P : เพศชาย อายุ 22 ปี เป็น severe acne vulgaris
I : Adapalene gel 0.1%
C : Isotretinoin cream 0.01%
o : efficacy of treatment of acne vulgaris
Diagnosis นศพ.ทรรศนะ
PP.หญิงไทยคู่อายุ 62 ปี อาชีพ แม่บ้าน ภูมิลำเนา อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา
CC. ปวดข้อเข้าขวามา 6 เดือนก่อนมา รพ.
PI. ปวดข้อเข่าขวามา 6เดือน มีอาการปวดหลังจากการนั่งหรือเดินนาน แต่ถ้าได้พักอาการปวดเข่าก็จะลดลง ไม่มีไข้ ไม่มีอาการเจ็บร้าวไปไหน
PH. มีโรคประจำตัวเป็นความดันโลหิตสูงมา 3ปี ทานยาสม่ำเสมอ
ปฏิเสธการเข้ารับการผ่าตัดใดๆ
ปฏิเสธประวัติแพยาแพ้อาหารใดๆ
PE. v/s : Temp 37.1 C pulse 70/min RR 20/min BP 130/85mmHg
GA : good conciousnessHEENT : not pale, no jaundiceHeart&Lungs: normalAbd : soft not tender Ext : Rt. Knee : bony enlargement, no warmness, hypotrophy of quadriceps muscle, tenderness, no effusion, crepitus on movement, decrease flexion
แพทย์ได้ให้การวินิจฉัยว่าเป็น Osteoarthritis
Treatment Paracetamol (500 mg) 2tab po prn q 4-6 hr.
Ibuprofen (400 mg) 1 tab po tid pc
Omeprazole (20 mg) 1 tab po ac
Diclofenac gel apply to the affect area for pain 3-4 time/day
Vitamin C
จาก case ดังกล่าวข้างต้นแพทย์วินิจฉัยโรคโดยการใช้อาการทางคลินิกร่วมกับการตรวจทางร่างกาย
คำถาม การวินิจฉัยโรคโดยการใช้อาการทางคลินิกร่วมกับการตรวจทางร่างกายมีความแม่นยำเพียงใด
P Patient with osteoarthritis
I clinical manifestation and physical examination
C Plain knee joint
O การวินิจฉัย Osteoarthritis
CC. ปวดข้อเข้าขวามา 6 เดือนก่อนมา รพ.
PI. ปวดข้อเข่าขวามา 6เดือน มีอาการปวดหลังจากการนั่งหรือเดินนาน แต่ถ้าได้พักอาการปวดเข่าก็จะลดลง ไม่มีไข้ ไม่มีอาการเจ็บร้าวไปไหน
PH. มีโรคประจำตัวเป็นความดันโลหิตสูงมา 3ปี ทานยาสม่ำเสมอ
ปฏิเสธการเข้ารับการผ่าตัดใดๆ
ปฏิเสธประวัติแพยาแพ้อาหารใดๆ
PE. v/s : Temp 37.1 C pulse 70/min RR 20/min BP 130/85mmHg
GA : good conciousnessHEENT : not pale, no jaundiceHeart&Lungs: normalAbd : soft not tender Ext : Rt. Knee : bony enlargement, no warmness, hypotrophy of quadriceps muscle, tenderness, no effusion, crepitus on movement, decrease flexion
แพทย์ได้ให้การวินิจฉัยว่าเป็น Osteoarthritis
Treatment Paracetamol (500 mg) 2tab po prn q 4-6 hr.
Ibuprofen (400 mg) 1 tab po tid pc
Omeprazole (20 mg) 1 tab po ac
Diclofenac gel apply to the affect area for pain 3-4 time/day
Vitamin C
จาก case ดังกล่าวข้างต้นแพทย์วินิจฉัยโรคโดยการใช้อาการทางคลินิกร่วมกับการตรวจทางร่างกาย
คำถาม การวินิจฉัยโรคโดยการใช้อาการทางคลินิกร่วมกับการตรวจทางร่างกายมีความแม่นยำเพียงใด
P Patient with osteoarthritis
I clinical manifestation and physical examination
C Plain knee joint
O การวินิจฉัย Osteoarthritis
Therapy นศพ.ทรรศนะ
PP.หญิงไทยคู่อายุ 62 ปี อาชีพ แม่บ้าน ภูมิลำเนา อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา
CC. ปวดข้อเข้าขวามา 6 เดือนก่อนมา รพ.
PI. ปวดข้อเข่าขวามา 6เดือน มีอาการปวดหลังจากการนั่งหรือเดินนาน แต่ถ้าได้พักอาการปวดเข่าก็จะลดลง ไม่มีไข้ ไม่มีอาการเจ็บร้าวไปไหน
PH. มีโรคประจำตัวเป็นความดันโลหิตสูงมา 3ปี ทานยาสม่ำเสมอ
ปฏิเสธการเข้ารับการผ่าตัดใดๆ
ปฏิเสธประวัติแพยาแพ้อาหารใดๆ
PE. v/s : Temp 37.1 C pulse 70/min RR 20/min BP 130/85mmHg
GA : good conciousnessHEENT : not pale, no jaundiceHeart&Lungs: normalAbd : soft not tender Ext : Rt. Knee : bony enlargement, no warmness, hypotrophy of quadriceps muscle, tenderness, no effusion, crepitus on movement, decrease flexion
แพทย์ได้ให้การวินิจฉัยว่าเป็น Osteoarthritis
Treatment Paracetamol (500 mg) 2tab po prn q 4-6 hr.
Ibuprofen (400 mg) 1 tab po tid pc
Omeprazole (20 mg) 1 tab po ac
Diclofenac gel apply to the affect area for pain 3-4 time/day
Vitamin C
จาก case ดังกล่าวข้างต้นแพทย์ได้ให้ Vitamin C ร่วมในการรักษาด้วย
คำถาม การให้ Vitamin C ในผู้ป่วยที่เป็น Osteoarthritis จะช่วยลดการเสื่อมของข้อได้แตกต่างจากผู้ป่วยที่ไม่ได้รับหรือไม่
P Patient with osteoarthritis
I Vitamin C
C Placebo
O การได้รับ Vitamin C ในผู้ป่วยที่เป็นOsteoarthritis จะช่วยลดการเสื่อมของข้อได้แตกต่างจากผู้ป่วยที่ไม่ได้รับ
CC. ปวดข้อเข้าขวามา 6 เดือนก่อนมา รพ.
PI. ปวดข้อเข่าขวามา 6เดือน มีอาการปวดหลังจากการนั่งหรือเดินนาน แต่ถ้าได้พักอาการปวดเข่าก็จะลดลง ไม่มีไข้ ไม่มีอาการเจ็บร้าวไปไหน
PH. มีโรคประจำตัวเป็นความดันโลหิตสูงมา 3ปี ทานยาสม่ำเสมอ
ปฏิเสธการเข้ารับการผ่าตัดใดๆ
ปฏิเสธประวัติแพยาแพ้อาหารใดๆ
PE. v/s : Temp 37.1 C pulse 70/min RR 20/min BP 130/85mmHg
GA : good conciousnessHEENT : not pale, no jaundiceHeart&Lungs: normalAbd : soft not tender Ext : Rt. Knee : bony enlargement, no warmness, hypotrophy of quadriceps muscle, tenderness, no effusion, crepitus on movement, decrease flexion
แพทย์ได้ให้การวินิจฉัยว่าเป็น Osteoarthritis
Treatment Paracetamol (500 mg) 2tab po prn q 4-6 hr.
Ibuprofen (400 mg) 1 tab po tid pc
Omeprazole (20 mg) 1 tab po ac
Diclofenac gel apply to the affect area for pain 3-4 time/day
Vitamin C
จาก case ดังกล่าวข้างต้นแพทย์ได้ให้ Vitamin C ร่วมในการรักษาด้วย
คำถาม การให้ Vitamin C ในผู้ป่วยที่เป็น Osteoarthritis จะช่วยลดการเสื่อมของข้อได้แตกต่างจากผู้ป่วยที่ไม่ได้รับหรือไม่
P Patient with osteoarthritis
I Vitamin C
C Placebo
O การได้รับ Vitamin C ในผู้ป่วยที่เป็นOsteoarthritis จะช่วยลดการเสื่อมของข้อได้แตกต่างจากผู้ป่วยที่ไม่ได้รับ
assignment 1 Diagnosis โดย นศพ รัตติพร
PP : เด็กชายไทน อายุ 9 เดือน
CC : ชักเกร็งกระตุก 1 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล
PI : 2 วันก่อนมาโรงพยาบาล มีไข้สูง กินอาหารได้ลดลง เริ่มซึม
1 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล มีอาการเกร็งกระตุกทั่วทั้งตัว หมดสติ 10 นาที มีอาการซึมเรียกไม่ตื่นฃ
PH : ไม่เคยมีโรคประจำตัวใดๆ
ไม่เคยมีอาการชักมาก่อนหน้านี้
PE : v/s BT 39 C PR 120/min RR 52/min BP 100/80 mmHg
GA : stupor E3V4M5
HEENT : not pale, no jaundice
Heart and lung : WNL
Neuro Exam : no neurological deficit , motor power grade 5 all
BBK - Brudzinski -
Question : ในเด็กที่มีอาการชักเกร็งกระตุกทั้งตัวการวินิจฉัย Bacterial meningitis จาก CSF analysis มีความแม่นยำเพียงใดเมื่อเทียบกับ CSF culture
P : เด็กอายุน้อยกว่า 1 ปีที่มีการเกร็งกระตุกทั้งตัว
I : CSF analysis
C : CSF culture
o : accuracy of diagnosis bacterial meningitis
CC : ชักเกร็งกระตุก 1 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล
PI : 2 วันก่อนมาโรงพยาบาล มีไข้สูง กินอาหารได้ลดลง เริ่มซึม
1 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล มีอาการเกร็งกระตุกทั่วทั้งตัว หมดสติ 10 นาที มีอาการซึมเรียกไม่ตื่นฃ
PH : ไม่เคยมีโรคประจำตัวใดๆ
ไม่เคยมีอาการชักมาก่อนหน้านี้
PE : v/s BT 39 C PR 120/min RR 52/min BP 100/80 mmHg
GA : stupor E3V4M5
HEENT : not pale, no jaundice
Heart and lung : WNL
Neuro Exam : no neurological deficit , motor power grade 5 all
BBK - Brudzinski -
Question : ในเด็กที่มีอาการชักเกร็งกระตุกทั้งตัวการวินิจฉัย Bacterial meningitis จาก CSF analysis มีความแม่นยำเพียงใดเมื่อเทียบกับ CSF culture
P : เด็กอายุน้อยกว่า 1 ปีที่มีการเกร็งกระตุกทั้งตัว
I : CSF analysis
C : CSF culture
o : accuracy of diagnosis bacterial meningitis
Assignment1 case2 โดย นศพ.คัทลียา มุขดี
Prognosis
เด็กหญิงไทย อายุ 13 ปี
CC : ตัวบวม 2 วัน ก่อนมาโรงพยาบาล
PI : 2 วันก่อน สังเกตว่าใบหน้าและแขนขาบวมขึ้น ปัสสาวะสีเหลืองขุ่นมีฟอง ไม่มีไข้
วันนี้ อาการบวมยังไม่ดีขึ้น มารดาจึงพามารักษาที่โรงพยาบาล
PH : - ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็น nephrotic syndrome ตั้งแต่อายุ 9 ปี หลังทำ renal biopsy พบเป็นชนิดminimal change disease รักษาด้วย oral prednisolone มาตลอด
PE : GA – A Thai girl, good consciousness, no dyspnea
HEENT – puffy eyelid, mild pale conjunctiva, no icteric sclera, LN cannot palpated
Heart – normal S1S2, no murmur
Lung – clear Lt=Rt
Abdomen – soft, not tender, mild distention, shifting dullness –ve, no hepatosplenomegaly, no mass
Extremities – pitting edema 2+
Question : What number of patient with long term steroid used develop to Cushing syndrome at 1year, 3years and 5 years?
P : Long term steroid used patient
I : Time
C : -
O : Cushing syndrome
เด็กหญิงไทย อายุ 13 ปี
CC : ตัวบวม 2 วัน ก่อนมาโรงพยาบาล
PI : 2 วันก่อน สังเกตว่าใบหน้าและแขนขาบวมขึ้น ปัสสาวะสีเหลืองขุ่นมีฟอง ไม่มีไข้
วันนี้ อาการบวมยังไม่ดีขึ้น มารดาจึงพามารักษาที่โรงพยาบาล
PH : - ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็น nephrotic syndrome ตั้งแต่อายุ 9 ปี หลังทำ renal biopsy พบเป็นชนิดminimal change disease รักษาด้วย oral prednisolone มาตลอด
PE : GA – A Thai girl, good consciousness, no dyspnea
HEENT – puffy eyelid, mild pale conjunctiva, no icteric sclera, LN cannot palpated
Heart – normal S1S2, no murmur
Lung – clear Lt=Rt
Abdomen – soft, not tender, mild distention, shifting dullness –ve, no hepatosplenomegaly, no mass
Extremities – pitting edema 2+
Question : What number of patient with long term steroid used develop to Cushing syndrome at 1year, 3years and 5 years?
P : Long term steroid used patient
I : Time
C : -
O : Cushing syndrome
Assignment I นศพ.วราลี ปรียวาณิชย์
Case therapy
ชายไทยคู่ 72 ปี อาชีพ พ่อบ้าน
CC : ถ่ายอุจจาระเป็นสีดำ 4 วัน ก่อนมาโรงพยาบาล
PI : 4 วันก่อนมาโรงพยาบาล ถ่ายอุจจาระเป็นสีดำ ลักษณะเหลวคล้ายยางมะตอยประมาณ 1/2แก้ว มีอาการเวียนศีรษะ ไม่มีไข้ ไม่มีอาการคลื่นไส้ ไม่มีอาเจียนเป็นเลือด ไม่ปวดท้อง ไม่มีเบื่ออาหารน้ำหนักลด
1 วันก่อนมาโรงพยาบาล ถ่ายดำ 1แก้ว ลักษณะเหมือนเดิม มีอาการเวียนศีรษะ คลื่นไส้ ไม่มีอาเจียนเป็นเลือด ไม่มีอาการปวดท้อง
PH :
- มีประวัติdyspepsia เมื่อ 3ปีก่อน ตอนนี้ไม่มีอาการ
- เป็น esophageal varices เมื่อ 1ปีก่อน มีอาเจียนเป็นเลือด รักษาที่โรงพยาบาลมอ.ทำesophagovariceal ligament หลังจากนั้นไม่มีอาเจียนเป็นเลือดหรือถ่ายดำ
- โรคประจำตัว liver cirrhosis child A , Anti Hbc positive, รักษาที่มอ. แต่ขาดการติดตามการรักษา กินยาไม่สมำเสมอ
- ยาที่ใช้ประจำ lactulose (30ml) Syr Sig.2tsp PO OD , spironolactone (100mg)2*1 pc เช้าpropanolol(40) 1x2 oral pc ,MTV 1x2 oral pc , zinc sol (5mg/ml) 60ml 1tsp OD hs , Omeprazole(20) 1x1 oral ac
- ปฏิเสธยาต้มยาหม้อยาลูกกลอน ยาแก้ปวดกลุ่มNSAIDs , ยาต้านลื่มเลือด เหล็ก บิสมัต
- ไม่ดื่มเหล้า
- สูบใบจาก วันละ 10มวน ตั้งแต่อายุ 25 ปียังไม่เลิก
- ไม่มีคนในครอบครัวมีประวัติโรคตับอักเสบหรือตับแข็ง
PE :
Vital signs : BT 38 C PR 86 /min RR 24/min BP 123/53 mmHg
Skin : no palmar erythema no spider nevi
Nail and finger : no clubbing finger, no dupuytrn's contracture, no white nail line, no cyanosis
Eye : moderately pale conjunctiva, mild icteric sclera
Abdomen: no superficial vein dilate, no visible peritalsis ,active bowel sound ,no abdominal aorta/renal bruit ,no fluid trill ,shifting dullness +ve ,no hepatosplenomegaly
Extremities : pitting edema 1+ , flapping tremor +ve
Others : WNL
Dx UGIB จากEsophageal varices ได้รับการรักษาโดยมีการให้ ceftriaxone ในการป้องกันการเกิด Spontaneous Bacterial Peritonitis
P : Patient with UGIB from Esophageal varices
I :ceftriaxone
C :Norfloxacin
O :การเกิด Spontaneous Bacterial Peritonitis (SBP)
คำถามการให้ ceftriaxone ในผู้ป่วย UGIB จาก Esophageal Varices สามารถป้องกัน Spontaneous Bacterial Peritonitis ได้ดีเพียงใดเมื่อเปรียบเทียบกับการให้ Norfloxacin
ชายไทยคู่ 72 ปี อาชีพ พ่อบ้าน
CC : ถ่ายอุจจาระเป็นสีดำ 4 วัน ก่อนมาโรงพยาบาล
PI : 4 วันก่อนมาโรงพยาบาล ถ่ายอุจจาระเป็นสีดำ ลักษณะเหลวคล้ายยางมะตอยประมาณ 1/2แก้ว มีอาการเวียนศีรษะ ไม่มีไข้ ไม่มีอาการคลื่นไส้ ไม่มีอาเจียนเป็นเลือด ไม่ปวดท้อง ไม่มีเบื่ออาหารน้ำหนักลด
1 วันก่อนมาโรงพยาบาล ถ่ายดำ 1แก้ว ลักษณะเหมือนเดิม มีอาการเวียนศีรษะ คลื่นไส้ ไม่มีอาเจียนเป็นเลือด ไม่มีอาการปวดท้อง
PH :
- มีประวัติdyspepsia เมื่อ 3ปีก่อน ตอนนี้ไม่มีอาการ
- เป็น esophageal varices เมื่อ 1ปีก่อน มีอาเจียนเป็นเลือด รักษาที่โรงพยาบาลมอ.ทำesophagovariceal ligament หลังจากนั้นไม่มีอาเจียนเป็นเลือดหรือถ่ายดำ
- โรคประจำตัว liver cirrhosis child A , Anti Hbc positive, รักษาที่มอ. แต่ขาดการติดตามการรักษา กินยาไม่สมำเสมอ
- ยาที่ใช้ประจำ lactulose (30ml) Syr Sig.2tsp PO OD , spironolactone (100mg)2*1 pc เช้าpropanolol(40) 1x2 oral pc ,MTV 1x2 oral pc , zinc sol (5mg/ml) 60ml 1tsp OD hs , Omeprazole(20) 1x1 oral ac
- ปฏิเสธยาต้มยาหม้อยาลูกกลอน ยาแก้ปวดกลุ่มNSAIDs , ยาต้านลื่มเลือด เหล็ก บิสมัต
- ไม่ดื่มเหล้า
- สูบใบจาก วันละ 10มวน ตั้งแต่อายุ 25 ปียังไม่เลิก
- ไม่มีคนในครอบครัวมีประวัติโรคตับอักเสบหรือตับแข็ง
PE :
Vital signs : BT 38 C PR 86 /min RR 24/min BP 123/53 mmHg
Skin : no palmar erythema no spider nevi
Nail and finger : no clubbing finger, no dupuytrn's contracture, no white nail line, no cyanosis
Eye : moderately pale conjunctiva, mild icteric sclera
Abdomen: no superficial vein dilate, no visible peritalsis ,active bowel sound ,no abdominal aorta/renal bruit ,no fluid trill ,shifting dullness +ve ,no hepatosplenomegaly
Extremities : pitting edema 1+ , flapping tremor +ve
Others : WNL
Dx UGIB จากEsophageal varices ได้รับการรักษาโดยมีการให้ ceftriaxone ในการป้องกันการเกิด Spontaneous Bacterial Peritonitis
P : Patient with UGIB from Esophageal varices
I :ceftriaxone
C :Norfloxacin
O :การเกิด Spontaneous Bacterial Peritonitis (SBP)
คำถามการให้ ceftriaxone ในผู้ป่วย UGIB จาก Esophageal Varices สามารถป้องกัน Spontaneous Bacterial Peritonitis ได้ดีเพียงใดเมื่อเปรียบเทียบกับการให้ Norfloxacin
Assignment I(2) นศพ.ณัฐวุฒิ ตรีเมต
Therapy
G2P1 GA 36 wk by Ballard score
Chief complaint: เหลืองทันทีหลังคลอด
Present illness: ทารกเพศชาย น้ำหนัก 2,800 กรัม คลอดปกติที่ รพ.หาดใหญ่ ไม่มีความผิดปกติระหว่างคลอด หลังคลอดสังเกตว่าทารกตัวเหลือง ไม่ค่อยขยับตัว
Maternal history:
มารดาไม่มีโรคประจำตัว หมู่เลือดเอ Rh-, บิดาหมู่เลือดโอ Rh+
ลูกคนก่อนหมู่เลือดโอ Rh+ หลังคลอดเหลืองเล็กน้อย ไม่ต้องฉายแสง
ไม่มีความผิดปกติระหว่างการตั้งครรภ์นี้, ฝากครรภ์ที่ รพ.หาดใหญ่ต่อเนื่อง เริ่มฝากครรภ์ตอน อายุครรภ์ 2เดือน
Physical examination:
GA- hypoactive, no dyspnea, moderate jaundice
HEENT- normocephalic, chignon, no cleft lip cleft palate
Thorax- no subcostal or substernal retraction, normal breast sound, lung clear,
Heart-normal S1S2, no murmur,
Abdomen- no scaphoid abdomen, midline umbilicus, A:V=2:1
Anus-patent
Extremities-WNL
Reflex: Moro positive
LAB investigation:
Hct 30%
Coomb test- positive all infant and mother
Impression: Rh incomplatibility
Patient: Maternal Rh- blood group labor with newborn Rh+ blood group
Intervention: IV Anti D antigen stat after labor
Comparison: Placebo
Outcome: Reduce of D antibody in maternal
Question: มารดาที่มีหมู่เลือด Rh negative ที่คลอดทารกที่มีหมู่เลือด Rh positive, หลังได้รับ IV anti D antigenแล้ว สามารถลดการเกิด D antibody ในมารดาได้เท่าไร?
G2P1 GA 36 wk by Ballard score
Chief complaint: เหลืองทันทีหลังคลอด
Present illness: ทารกเพศชาย น้ำหนัก 2,800 กรัม คลอดปกติที่ รพ.หาดใหญ่ ไม่มีความผิดปกติระหว่างคลอด หลังคลอดสังเกตว่าทารกตัวเหลือง ไม่ค่อยขยับตัว
Maternal history:
มารดาไม่มีโรคประจำตัว หมู่เลือดเอ Rh-, บิดาหมู่เลือดโอ Rh+
ลูกคนก่อนหมู่เลือดโอ Rh+ หลังคลอดเหลืองเล็กน้อย ไม่ต้องฉายแสง
ไม่มีความผิดปกติระหว่างการตั้งครรภ์นี้, ฝากครรภ์ที่ รพ.หาดใหญ่ต่อเนื่อง เริ่มฝากครรภ์ตอน อายุครรภ์ 2เดือน
Physical examination:
GA- hypoactive, no dyspnea, moderate jaundice
HEENT- normocephalic, chignon, no cleft lip cleft palate
Thorax- no subcostal or substernal retraction, normal breast sound, lung clear,
Heart-normal S1S2, no murmur,
Abdomen- no scaphoid abdomen, midline umbilicus, A:V=2:1
Anus-patent
Extremities-WNL
Reflex: Moro positive
LAB investigation:
Hct 30%
Coomb test- positive all infant and mother
Impression: Rh incomplatibility
Patient: Maternal Rh- blood group labor with newborn Rh+ blood group
Intervention: IV Anti D antigen stat after labor
Comparison: Placebo
Outcome: Reduce of D antibody in maternal
Question: มารดาที่มีหมู่เลือด Rh negative ที่คลอดทารกที่มีหมู่เลือด Rh positive, หลังได้รับ IV anti D antigenแล้ว สามารถลดการเกิด D antibody ในมารดาได้เท่าไร?
Assignment I นศพ.วราลี ปรียวาณิชย์
Case Prognosis
Case ผู้ป่วยหญิงไทยคู่ อายุ 32 ปี อาชีพ แม่บ้าน
CC : ปวดประจำเดือนมากมา 6 เดือนก่อนมาโรงพยาบาล
PI : 6 เดือนก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยมีอาการปวดท้องน้อยขณะมีประจำเดือน ปวดบีบๆเป็นหายๆ ประจำเดือนมีปริมาณมาก สามวันแรกใช้ผ้าอนามัยวันละ 6 แผ่น วันหลังๆใช้วันละ 3 แผ่น ไม่มีอาการตกขาวผิดปกติ ไม่มีเลือดออกผิดปกติทางช่องคลอด ไม่มีอาการปวดเวลามีเพศสัมพันธ์
1 เดือน ก่อนมาโรงพยาบาล รู้สึกว่ามีอาการปวดประจำเดือนมากขึ้น ปวดมากบริเวณท้องน้อยด้านซ้าย บางครั้งปวดมากจนไม่สามารถทำงานบ้านได้ ประจำเดือนยังมามากเช่นเดิม กินยาแก้ปวดอาการดีขึ้น แต่ไม่นานก็กลับมาปวดใหม่ จึงมาพบแพทย์
PH :
No underlying disease
No food or drug allergy
แต่งงานแล้ว 3 ปี ปีแรกคุมกำเนิดโดยการกินยาคุม หลังจากนั้นไม่ได้คุมกำเนิด มีเพศสัมพันธ์สม่ำเสมอ แต่ไม่มีบุตร
ประจำเดือนมาครั้งแรกตอนอายุ 13 ปี มาครั้งละ5-7 วัน มาสม่ำเสมอทุกเดือน ประมาณ 2 ปีที่ผ่านมา มีอาการปวดประจำเดือนทุกเดือนแต่ปวดไม่มาก มักปวดในสองวันแรกของการมีประจำเดือน
PE :
GA : Good consciousness , well co-operated
HEENT : Not pale , no jaundice
Heart : Normal S1S2 , no murmur
Lung : Clear Rt=Lt
Abdomen : Soft ,mild tenderness at suprapubic area ,moderate tenderness at LLQ , no rebound tenderness , no distension, normal active bowel sound
Extremities : WNL
PV : MIUB : normal
Vagina : normal , no discharge , no ulcer
Cervix : no discharge per os , no excitation pain
Uterus : normal size , R/V
Adnexa : Left cyst size 3x5 cm
Ultrasonography : Mixed echoic cyst 4.5x5.5 cm at left overy
ได้รับการวินิจฉัยเป็น endometriotic cyst at left ovary ทำ left oophorectomy
คำถาม : ผู้ป่วยที่เป็น endometriotic cyst หลังจากรักษาโดยการทำ oophorectomy ไปแล้วจะมีโอกาสกลับเป็นซ้ำมากน้อยเท่าไร
P : Woman with endometriotic cyst with oophorectomy
I : time
C : -
O : Recurrent of endometriosis
Case ผู้ป่วยหญิงไทยคู่ อายุ 32 ปี อาชีพ แม่บ้าน
CC : ปวดประจำเดือนมากมา 6 เดือนก่อนมาโรงพยาบาล
PI : 6 เดือนก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยมีอาการปวดท้องน้อยขณะมีประจำเดือน ปวดบีบๆเป็นหายๆ ประจำเดือนมีปริมาณมาก สามวันแรกใช้ผ้าอนามัยวันละ 6 แผ่น วันหลังๆใช้วันละ 3 แผ่น ไม่มีอาการตกขาวผิดปกติ ไม่มีเลือดออกผิดปกติทางช่องคลอด ไม่มีอาการปวดเวลามีเพศสัมพันธ์
1 เดือน ก่อนมาโรงพยาบาล รู้สึกว่ามีอาการปวดประจำเดือนมากขึ้น ปวดมากบริเวณท้องน้อยด้านซ้าย บางครั้งปวดมากจนไม่สามารถทำงานบ้านได้ ประจำเดือนยังมามากเช่นเดิม กินยาแก้ปวดอาการดีขึ้น แต่ไม่นานก็กลับมาปวดใหม่ จึงมาพบแพทย์
PH :
No underlying disease
No food or drug allergy
แต่งงานแล้ว 3 ปี ปีแรกคุมกำเนิดโดยการกินยาคุม หลังจากนั้นไม่ได้คุมกำเนิด มีเพศสัมพันธ์สม่ำเสมอ แต่ไม่มีบุตร
ประจำเดือนมาครั้งแรกตอนอายุ 13 ปี มาครั้งละ5-7 วัน มาสม่ำเสมอทุกเดือน ประมาณ 2 ปีที่ผ่านมา มีอาการปวดประจำเดือนทุกเดือนแต่ปวดไม่มาก มักปวดในสองวันแรกของการมีประจำเดือน
PE :
GA : Good consciousness , well co-operated
HEENT : Not pale , no jaundice
Heart : Normal S1S2 , no murmur
Lung : Clear Rt=Lt
Abdomen : Soft ,mild tenderness at suprapubic area ,moderate tenderness at LLQ , no rebound tenderness , no distension, normal active bowel sound
Extremities : WNL
PV : MIUB : normal
Vagina : normal , no discharge , no ulcer
Cervix : no discharge per os , no excitation pain
Uterus : normal size , R/V
Adnexa : Left cyst size 3x5 cm
Ultrasonography : Mixed echoic cyst 4.5x5.5 cm at left overy
ได้รับการวินิจฉัยเป็น endometriotic cyst at left ovary ทำ left oophorectomy
คำถาม : ผู้ป่วยที่เป็น endometriotic cyst หลังจากรักษาโดยการทำ oophorectomy ไปแล้วจะมีโอกาสกลับเป็นซ้ำมากน้อยเท่าไร
P : Woman with endometriotic cyst with oophorectomy
I : time
C : -
O : Recurrent of endometriosis
Assignment 1 (Diagnosis) นศพ.ปริญญา รัตนพงศ์
ชายไทยคู่ อายุ 56 ปี
CC : ไอเป็นเลือดมา 1 วัน
PI : 2 เดือนก่อนมาโรงพยาบาล มีไข้ต่ำๆ เป็นตลอด มักมีไข้สูงตอนดึกๆ ไอแห้งๆ ไม่มีเสมหะ
2 สัปดาห์ก่อนมาโรงพยาบาลเริ่มมีอาการเบื่ออาหาร น้ำหนักลด 5 กิโลกรัม ใน 1 เดือน ยังคงมีไข้ต่ำๆอยู่ ไอแห้งๆ เริ่มมีเสมหะสีขาวขุ่นๆ จึงมาโรงพยาบาล
PH : ประวัติคนในครอบครัวเป็นวัณโรค 1 คน
ไม่มีโรคประจำตัวใด
ปฏิเสธประวัติแพ้ยาแพ้อาหาร
PE : vital signs : BT 36.8 C PR 80/min RR 20/min BP 100/80 mmHg
HEENT : mild pale conjunctiva. no jaundice.
Heart&lung : WNL
Others : WNL
Lab : Chest x-ray พบ patchy infiltration both lung and cavity at apex of right lung.
CBC : mild anemia , leukocytosis with lymphocyte predominated
จากอาการและchest x-ray สงสัย TB จึงส่งย้อม AFB sputum
Question : จาก AFB sputum มีความแม่นยำเพียงใดเมื่อเทียบกับ culture sputum
P : ชายไทยคู่ อายุ 56 ปี เป็นวัณโรค
I : ย้อม AFB sputum
C : culture sputum
O : accuracy of diagnosis TB
CC : ไอเป็นเลือดมา 1 วัน
PI : 2 เดือนก่อนมาโรงพยาบาล มีไข้ต่ำๆ เป็นตลอด มักมีไข้สูงตอนดึกๆ ไอแห้งๆ ไม่มีเสมหะ
2 สัปดาห์ก่อนมาโรงพยาบาลเริ่มมีอาการเบื่ออาหาร น้ำหนักลด 5 กิโลกรัม ใน 1 เดือน ยังคงมีไข้ต่ำๆอยู่ ไอแห้งๆ เริ่มมีเสมหะสีขาวขุ่นๆ จึงมาโรงพยาบาล
PH : ประวัติคนในครอบครัวเป็นวัณโรค 1 คน
ไม่มีโรคประจำตัวใด
ปฏิเสธประวัติแพ้ยาแพ้อาหาร
PE : vital signs : BT 36.8 C PR 80/min RR 20/min BP 100/80 mmHg
HEENT : mild pale conjunctiva. no jaundice.
Heart&lung : WNL
Others : WNL
Lab : Chest x-ray พบ patchy infiltration both lung and cavity at apex of right lung.
CBC : mild anemia , leukocytosis with lymphocyte predominated
จากอาการและchest x-ray สงสัย TB จึงส่งย้อม AFB sputum
Question : จาก AFB sputum มีความแม่นยำเพียงใดเมื่อเทียบกับ culture sputum
P : ชายไทยคู่ อายุ 56 ปี เป็นวัณโรค
I : ย้อม AFB sputum
C : culture sputum
O : accuracy of diagnosis TB
Therapy
Case2:Therapy นศพ.อารียา ภูมิเดช
Patient profile:ญ ไทยคู่อายุ 27ปีG2P1 GA39 wks by LMP
CC:มีอาการเจ็บครรภ์คลอด 2 ชม.PTA
PI :2 ชม. PTAผู้ป่วยมีการปวดบีบๆ บริเวณท้องน้อย อาการปวดบีบถี่ๆและสม่ำเสมอขึ้น มีมูกไหลใสออกจากช่องคลอด ไม่มีเลือดปน ไม่มีกลิ่นผิดปกติ ไม่มีไข้ แต่ไม่มีน้ำเดิน จึงมา รพ.
PH: G2P1 GA39 wks by LMP previousC/S
ANC รพ.หาดใหญ่ 7ครั้ง Sero all negative,HCT 37%,OF และDCIP negative,Anti HIV negative,HbSAg negative
ระหว่างฝากครรภ์ไม่มีความผิดปกติใดๆ มาตรวจตามนัดทุกครั้ง
ครรภ์ก่อนระหว่างตั้งครรภ์ปกติดี ลูกสมบูรณ์ดี ต้องผ่าคลอดเพราะCPD
ปฏิเสธประวัติโรคประจำตัว
ปฏิเสธประวัติแพ้ยาแพ้อาหาร
คำถาม:ก่อนจะนำผู้ป่วยไปC/Sสังเกตว่า มีorderให้ Cefazoline 2 g IVก่อนไปOR เพื่อป้องกันการเกิด post C/S infection จึงสงสัยว่าการให้ATBก่อนC/S หรือหลังC/Sมีประสิทธิภาพในการป้องกันการติดเชื้อหลังC/Sในมารดาได้มากกว่ากัน?
P:Pregnancy with c/s
I:Cefazoline before skin incision
C: Cefazoline after cord clamp
O:Post c/s morbidity in maternal
Patient profile:ญ ไทยคู่อายุ 27ปีG2P1 GA39 wks by LMP
CC:มีอาการเจ็บครรภ์คลอด 2 ชม.PTA
PI :2 ชม. PTAผู้ป่วยมีการปวดบีบๆ บริเวณท้องน้อย อาการปวดบีบถี่ๆและสม่ำเสมอขึ้น มีมูกไหลใสออกจากช่องคลอด ไม่มีเลือดปน ไม่มีกลิ่นผิดปกติ ไม่มีไข้ แต่ไม่มีน้ำเดิน จึงมา รพ.
PH: G2P1 GA39 wks by LMP previousC/S
ANC รพ.หาดใหญ่ 7ครั้ง Sero all negative,HCT 37%,OF และDCIP negative,Anti HIV negative,HbSAg negative
ระหว่างฝากครรภ์ไม่มีความผิดปกติใดๆ มาตรวจตามนัดทุกครั้ง
ครรภ์ก่อนระหว่างตั้งครรภ์ปกติดี ลูกสมบูรณ์ดี ต้องผ่าคลอดเพราะCPD
ปฏิเสธประวัติโรคประจำตัว
ปฏิเสธประวัติแพ้ยาแพ้อาหาร
คำถาม:ก่อนจะนำผู้ป่วยไปC/Sสังเกตว่า มีorderให้ Cefazoline 2 g IVก่อนไปOR เพื่อป้องกันการเกิด post C/S infection จึงสงสัยว่าการให้ATBก่อนC/S หรือหลังC/Sมีประสิทธิภาพในการป้องกันการติดเชื้อหลังC/Sในมารดาได้มากกว่ากัน?
P:Pregnancy with c/s
I:Cefazoline before skin incision
C: Cefazoline after cord clamp
O:Post c/s morbidity in maternal
Assignment I(1) นศพ.ณัฐวุฒิ ตรีเมต
Prognosis
G1P0 GA 38 wk by Ballard score
Chief complaint: แขนซ้ายไม่ขยับทันทีหลังคลอด
Present illness: ทารกเพศชาย น้ำหนัก 3,930 กรัม
คลอดด้วยวีธี Vacuum extraction เนื่องจากมี prolong second stage of labor (2hr 18min)
หลังจากคลอดศีรษะได้ เกิดShoulder dystocia แพทย์สามารถช่วยคลอดจนสำเร็จ
หลังคลอดสังเกตว่าทารกแขนข้างซ้ายไม่ขยับ ส่วนแขนข้างขวาขยับได้ปกติ สามารถกำมือได้ทั้ง2ข้าง
Maternal history: มารดาไม่มีโรคประจำตัว, ไม่มีความผิดปกติระหว่างการตั้งครรภ์, ฝากครรภ์ที่ รพ.หาดใหญ่ต่อเนื่อง เริ่มฝากครรภ์ตอน อายุครรภ์ 2เดือน
Physical examination:
GA- active, no dyspnea, not pale, no jaundice
HEENT- normocephalic, chignon, no cleft lip cleft palate
Thorax- no subcostal or substernal retraction, normal breast sound, lung clear,
Heart-normal S1S2, no murmur,
Abdomen- no scaphoid abdomen, midline umbilicus, A:V=2:1
Anus-patent
Extremities-decrease movement of left arm, no crepitation on left shoulder
Reflex: Moro negative left arm
Impression: Erb’s palsy
Patient: Newborn with brachial plexus injury
Intervention: Time
Comparison: None
Outcome: Self resolved of brachial plexus injury
Question: What number of newborns who have brachial plexus injury can self resolved at 6month, 1years and 3 years?
G1P0 GA 38 wk by Ballard score
Chief complaint: แขนซ้ายไม่ขยับทันทีหลังคลอด
Present illness: ทารกเพศชาย น้ำหนัก 3,930 กรัม
คลอดด้วยวีธี Vacuum extraction เนื่องจากมี prolong second stage of labor (2hr 18min)
หลังจากคลอดศีรษะได้ เกิดShoulder dystocia แพทย์สามารถช่วยคลอดจนสำเร็จ
หลังคลอดสังเกตว่าทารกแขนข้างซ้ายไม่ขยับ ส่วนแขนข้างขวาขยับได้ปกติ สามารถกำมือได้ทั้ง2ข้าง
Maternal history: มารดาไม่มีโรคประจำตัว, ไม่มีความผิดปกติระหว่างการตั้งครรภ์, ฝากครรภ์ที่ รพ.หาดใหญ่ต่อเนื่อง เริ่มฝากครรภ์ตอน อายุครรภ์ 2เดือน
Physical examination:
GA- active, no dyspnea, not pale, no jaundice
HEENT- normocephalic, chignon, no cleft lip cleft palate
Thorax- no subcostal or substernal retraction, normal breast sound, lung clear,
Heart-normal S1S2, no murmur,
Abdomen- no scaphoid abdomen, midline umbilicus, A:V=2:1
Anus-patent
Extremities-decrease movement of left arm, no crepitation on left shoulder
Reflex: Moro negative left arm
Impression: Erb’s palsy
Patient: Newborn with brachial plexus injury
Intervention: Time
Comparison: None
Outcome: Self resolved of brachial plexus injury
Question: What number of newborns who have brachial plexus injury can self resolved at 6month, 1years and 3 years?
assingment 1 therapy โดย นศพ.รัตติพร
PP : เด็กชายแรกเกิด 5 นาที GA 42 weeks น้ำหนักแรกคลอด 3,500 gm NL
CC : หายใจเร็ว หอบเหนื่อยมา 5 นาที
PI :5 นาที มีอาการหอบเหนื่อย หายใจเร็ว หน้าอกบุ๋ม ปลายมือปลายเท้าเขียว มีประวัติ amniotic fluid มีขี้เทาปน
PE : v/s BT 36.9 RR 65/min PR 120/min BP 90/60 mmHg
GA : respiratory distress, acrocyanosis ,meconeum stain at periumbilicus
HEENT : nasal flaring , not pale no jaundice
Lungs : rhonchi both lung, subcostal retraction
Heart : normal S1S2 ,no murmur
abdomen : soft ,not tender
Lab
CXR : homogenouse opacity
rod like appearance infiltration with pneumothorax Rt lung
DTX 52 mg/dl
Dx MAS
คำถาม การให้ antibiotic ในเด็กแรกเกิดที่พบภาวะ MAS จะช่วยลดระยะเวลาของ respiratory distress ได้หรือไม่
P: MAS newborn
I: IV antibiotic (ampicillin+gentamicin)
C: ไม่ให้ ATB
O: ลด duration ของ respiratory distress
CC : หายใจเร็ว หอบเหนื่อยมา 5 นาที
PI :5 นาที มีอาการหอบเหนื่อย หายใจเร็ว หน้าอกบุ๋ม ปลายมือปลายเท้าเขียว มีประวัติ amniotic fluid มีขี้เทาปน
PE : v/s BT 36.9 RR 65/min PR 120/min BP 90/60 mmHg
GA : respiratory distress, acrocyanosis ,meconeum stain at periumbilicus
HEENT : nasal flaring , not pale no jaundice
Lungs : rhonchi both lung, subcostal retraction
Heart : normal S1S2 ,no murmur
abdomen : soft ,not tender
Lab
CXR : homogenouse opacity
rod like appearance infiltration with pneumothorax Rt lung
DTX 52 mg/dl
Dx MAS
คำถาม การให้ antibiotic ในเด็กแรกเกิดที่พบภาวะ MAS จะช่วยลดระยะเวลาของ respiratory distress ได้หรือไม่
P: MAS newborn
I: IV antibiotic (ampicillin+gentamicin)
C: ไม่ให้ ATB
O: ลด duration ของ respiratory distress
Assignment1 case 1 โดย นศพ.คัทลียา มุขดี
Therapy
ชายไทยคู่ อายุ 50 ปี
CC : เจ็บคอ 2 วัน ก่อนมาโรงพยาบาล
PI : 3 วันก่อน เริ่มมีอาการไอแห้งๆ ไอไม่บ่อย ไม่เจ็บคอ ร่วมกับมีน้ำมูกใส ไม่มีไข้
2 วันก่อน ไอมากขึ้น มีเสมหะสีขาวข้น เจ็บคอมาก กินอาหารได้น้อยลงเพราะกินแล้วเจ็บ ผู้ป่วยจึงนำต้นฟ้าทะลายโจรที่ปลูกอยู่ข้างบ้านมาต้มกรองเอาแต่น้ำ มากินแก้เจ็บคอ พบว่า หลังกินอาการเจ็บคอค่อยๆลดลง
วันนี้ ยังไอและเจ็บคออยู่ ไม่มีน้ำมูก ไม่มีไข้ จึงมาสถานีอนามัย
PH : -ปฏิเสธประวัติโรคประจำตัว
-ไม่มีประวัติแพ้ยา/อาหาร
PE : GA – A Thai man, good conscious
HEENT – not pale conjunctiva, no icteric sclera, mild injected pharynx, tonsillar enlargement 1+, thyroid gland not enlargement, LN cannot palpated
Heart – normal S1S2, no murmur
Lung – clear Lt=Rt
Abdomen – soft, not tender, no distention, no mass, no hepatosplenomegaly
Extremities – no pitting edema, no rash
Question : Can Andrographis paniculata (Burm) Nees decrease sore throat in pharyngotonsillitis patient?
P : Pharyngotonsillitis patient
I : Andrographis paniculata (Burm) Nees (ฟ้าทะลายโจร)
C : Placebo
O : Decreased sore throat
ชายไทยคู่ อายุ 50 ปี
CC : เจ็บคอ 2 วัน ก่อนมาโรงพยาบาล
PI : 3 วันก่อน เริ่มมีอาการไอแห้งๆ ไอไม่บ่อย ไม่เจ็บคอ ร่วมกับมีน้ำมูกใส ไม่มีไข้
2 วันก่อน ไอมากขึ้น มีเสมหะสีขาวข้น เจ็บคอมาก กินอาหารได้น้อยลงเพราะกินแล้วเจ็บ ผู้ป่วยจึงนำต้นฟ้าทะลายโจรที่ปลูกอยู่ข้างบ้านมาต้มกรองเอาแต่น้ำ มากินแก้เจ็บคอ พบว่า หลังกินอาการเจ็บคอค่อยๆลดลง
วันนี้ ยังไอและเจ็บคออยู่ ไม่มีน้ำมูก ไม่มีไข้ จึงมาสถานีอนามัย
PH : -ปฏิเสธประวัติโรคประจำตัว
-ไม่มีประวัติแพ้ยา/อาหาร
PE : GA – A Thai man, good conscious
HEENT – not pale conjunctiva, no icteric sclera, mild injected pharynx, tonsillar enlargement 1+, thyroid gland not enlargement, LN cannot palpated
Heart – normal S1S2, no murmur
Lung – clear Lt=Rt
Abdomen – soft, not tender, no distention, no mass, no hepatosplenomegaly
Extremities – no pitting edema, no rash
Question : Can Andrographis paniculata (Burm) Nees decrease sore throat in pharyngotonsillitis patient?
P : Pharyngotonsillitis patient
I : Andrographis paniculata (Burm) Nees (ฟ้าทะลายโจร)
C : Placebo
O : Decreased sore throat
Assignment I นศพ.วราลี ปรียวาณิชย์
Caseที่1 therapy
ชายไทยคู่ 72 ปี อาชีพ พ่อบ้าน
CC : ถ่ายอุจจาระเป็นสีดำ 4 วัน ก่อนมาโรงพยาบาล
PI : 4 วันก่อนมาโรงพยาบาล ถ่ายอุจจาระเป็นสีดำ ลักษณะเหลวคล้ายยางมะตอยประมาณ 1/2แก้ว มีอาการเวียนศีรษะ ไม่มีไข้ ไม่มีอาการคลื่นไส้ ไม่มีอาเจียนเป็นเลือด ไม่ปวดท้อง ไม่มีเบื่ออาหารน้ำหนักลด
1 วันก่อนมาโรงพยาบาล ถ่ายดำ 1แก้ว ลักษณะเหมือนเดิม มีอาการเวียนศีรษะ คลื่นไส้ ไม่มีอาเจียนเป็นเลือด ไม่มีอาการปวดท้อง
PH :
- มีประวัติdyspepsia เมื่อ 3ปีก่อน ตอนนี้ไม่มีอาการ
- เป็น esophageal varices เมื่อ 1ปีก่อน มีอาเจียนเป็นเลือด รักษาที่โรงพยาบาลมอ.ทำesophagovariceal ligament หลังจากนั้นไม่มีอาเจียนเป็นเลือดหรือถ่ายดำ
- โรคประจำตัว liver cirrhosis child A , Anti Hbc positive, รักษาที่มอ. แต่ขาดการติดตามการรักษา กินยาไม่สมำเสมอ
- ยาที่ใช้ประจำ lactulose (30ml) Syr Sig.2tsp PO OD , spironolactone (100mg)2*1 pc เช้าpropanolol(40) 1x2 oral pc ,MTV 1x2 oral pc , zinc sol (5mg/ml) 60ml 1tsp OD hs , Omeprazole(20) 1x1 oral ac
- ปฏิเสธยาต้มยาหม้อยาลูกกลอน ยาแก้ปวดกลุ่มNSAIDs , ยาต้านลื่มเลือด เหล็ก บิสมัต
- ไม่ดื่มเหล้า
- สูบใบจาก วันละ 10มวน ตั้งแต่อายุ 25 ปียังไม่เลิก
- ไม่มีคนในครอบครัวมีประวัติโรคตับอักเสบหรือตับแข็ง
PE :
Vital signs : BT 38oC PR 86 /min RR 24/min BP 123/53 mmHg
Skin : no palmar erythema no spider nevi
Nail and finger : no clubbing finger, no dupuytrn's contracture, no white nail line, no cyanosis
Eye : moderately pale conjunctiva, mild icteric sclera
Abdomen: no superficial vein dilate, no visible peritalsis ,active bowel sound ,no abdominal aorta/renal bruit ,no fluid trill ,shifting dullness +ve ,no hepatosplenomegaly
Extremities : pitting edema 1+ , flapping tremor +ve
Others : WNL
Dx UGIB จากEsophageal varices ได้รับการรักษาโดยมีการให้ ceftriaxone ในการป้องกันการเกิด Spontaneous Bacterial Peritonitis
P : Patient with UGIB from Esophageal varices
I : Ceftriaxone
C :Norfloxacin
O :การเกิด Spontaneous Bacterial Peritonitis (SBP)
คำถาม
การให้ ceftriaxone ในผู้ป่วย UGIB จาก Esophageal Varices สามารถป้องกัน Spontaneous Bacterial Peritonitis ได้ดีเพียงใดเมื่อเปรียบเทียบกับการให้ Norfloxacin
ชายไทยคู่ 72 ปี อาชีพ พ่อบ้าน
CC : ถ่ายอุจจาระเป็นสีดำ 4 วัน ก่อนมาโรงพยาบาล
PI : 4 วันก่อนมาโรงพยาบาล ถ่ายอุจจาระเป็นสีดำ ลักษณะเหลวคล้ายยางมะตอยประมาณ 1/2แก้ว มีอาการเวียนศีรษะ ไม่มีไข้ ไม่มีอาการคลื่นไส้ ไม่มีอาเจียนเป็นเลือด ไม่ปวดท้อง ไม่มีเบื่ออาหารน้ำหนักลด
1 วันก่อนมาโรงพยาบาล ถ่ายดำ 1แก้ว ลักษณะเหมือนเดิม มีอาการเวียนศีรษะ คลื่นไส้ ไม่มีอาเจียนเป็นเลือด ไม่มีอาการปวดท้อง
PH :
- มีประวัติdyspepsia เมื่อ 3ปีก่อน ตอนนี้ไม่มีอาการ
- เป็น esophageal varices เมื่อ 1ปีก่อน มีอาเจียนเป็นเลือด รักษาที่โรงพยาบาลมอ.ทำesophagovariceal ligament หลังจากนั้นไม่มีอาเจียนเป็นเลือดหรือถ่ายดำ
- โรคประจำตัว liver cirrhosis child A , Anti Hbc positive, รักษาที่มอ. แต่ขาดการติดตามการรักษา กินยาไม่สมำเสมอ
- ยาที่ใช้ประจำ lactulose (30ml) Syr Sig.2tsp PO OD , spironolactone (100mg)2*1 pc เช้าpropanolol(40) 1x2 oral pc ,MTV 1x2 oral pc , zinc sol (5mg/ml) 60ml 1tsp OD hs , Omeprazole(20) 1x1 oral ac
- ปฏิเสธยาต้มยาหม้อยาลูกกลอน ยาแก้ปวดกลุ่มNSAIDs , ยาต้านลื่มเลือด เหล็ก บิสมัต
- ไม่ดื่มเหล้า
- สูบใบจาก วันละ 10มวน ตั้งแต่อายุ 25 ปียังไม่เลิก
- ไม่มีคนในครอบครัวมีประวัติโรคตับอักเสบหรือตับแข็ง
PE :
Vital signs : BT 38oC PR 86 /min RR 24/min BP 123/53 mmHg
Skin : no palmar erythema no spider nevi
Nail and finger : no clubbing finger, no dupuytrn's contracture, no white nail line, no cyanosis
Eye : moderately pale conjunctiva, mild icteric sclera
Abdomen: no superficial vein dilate, no visible peritalsis ,active bowel sound ,no abdominal aorta/renal bruit ,no fluid trill ,shifting dullness +ve ,no hepatosplenomegaly
Extremities : pitting edema 1+ , flapping tremor +ve
Others : WNL
Dx UGIB จากEsophageal varices ได้รับการรักษาโดยมีการให้ ceftriaxone ในการป้องกันการเกิด Spontaneous Bacterial Peritonitis
P : Patient with UGIB from Esophageal varices
I : Ceftriaxone
C :Norfloxacin
O :การเกิด Spontaneous Bacterial Peritonitis (SBP)
คำถาม
การให้ ceftriaxone ในผู้ป่วย UGIB จาก Esophageal Varices สามารถป้องกัน Spontaneous Bacterial Peritonitis ได้ดีเพียงใดเมื่อเปรียบเทียบกับการให้ Norfloxacin
Assignment 1 นศพ.ธัญพร กาญจนสุวรรณ
ผู้ป่วยหญิงอายุ 4 เดือน
cc : ซึมลง 2 วัน ก่อนมาโรงพยาบาล
PI : 3 วันก่อนมาโรงพยาบาลมีไข้สูง มีน้ำมูกใส ไอ กินนมได้น้อยลง
2 วันก่อนมาโรงพยาบาลยังมีไข้สูง กินยาลดไข้แล้วอาการไม่ดีขึ้น กินนมน้อยลง และมีการซึมลงมาก
จึงตัดสินใจมาโรงพยาบาล
PH: ปฏิเสธประวัติโรคประจำตัวใดๆ
ปฏิเสธประวัติแพ้ยาแพ้อาหาร
ปฏิเสธการใช้ยาใดเป็นประจำ
FH: ปฏิเสธประวัติโรคทางพันธุกรรม เป็นบุตรคนแรก คลอดNL น้ำหนักแรกคลอด 3,3oo gm
ไม่มีปัญหาระหว่างตั้งครรภ์ ขณะนี้อาศัยอยู่กับ บิดา-มารดา
Well Child Care : กินนมแม่ ได้รับวัคซีนครบตามกำหนด พัฒนาการเป็นไปตามวัย (ชันคอได้แข็ง
คว้าของเข้าปาก หัวเราะ)
PE: vital signs BT 39.5C RR 40/min PR 120/min
GA : looked sick
HEENT : mild injected pharynx, anterior fontanel 3x3 cm. tense
Heart&lung : within normal limit
Abdomen : Soft, not tender
Neurological exam : drowsiness, pupil 3 mm. both eyes react to light
Motor : movement against gravity all by pain stimulation
Meningeal signs : Bruzinski's sign positive, no stiffness of neck, Kernig's sign negative
BBK : dorsiflexion both
Lab
CSF : WBC 550 cells/cu.mm RBC 2 cell/cu.mm Protein 80 mg/dl Sugar 20 mg/dl
Blood sugar 80 mg/dl
CSF culture : H. influinzae
แพทย์ให้การวินิจฉัยว่าเป็น Hemophilus meningitis ให้การรักษาด้วย cefotaxime 200 MKD IV q 6 hr และ Dexamethasone single dose ก่อนให้ antibiotic
Question 1 (Diagnosis)
การตรวจ Bruzinski's sign ให้ผลแม่นยำเพียงใดในการวินิจฉัย meningitisgเมื่อเทียบกับ CSF culture
ในผู้ป่วยอายุ 4 เดือนที่มีไข้สูง
P : เด็กทารก 4 เดิอน มีไข้สูง
I : Bruzinski's sign
C : CSF culture
O : Diagnosis meningitis
Question 2 (Therapy)
การให้ Dexamethasone ในผู้ป่วยอายุ 4 เดือน ที่เป็น Hemophilus meningitis สามารถลด hearing loss และmortality rate ได้หรือไม่
P : เด็กทารก 4 เดิอน ได้รับการวินัจฉัยว่าเป็น Hemophilus meningitis
I : Dexamethasone and cefotaxime
C : cefotaxime
O : reduce hearing loss and mortality rate
cc : ซึมลง 2 วัน ก่อนมาโรงพยาบาล
PI : 3 วันก่อนมาโรงพยาบาลมีไข้สูง มีน้ำมูกใส ไอ กินนมได้น้อยลง
2 วันก่อนมาโรงพยาบาลยังมีไข้สูง กินยาลดไข้แล้วอาการไม่ดีขึ้น กินนมน้อยลง และมีการซึมลงมาก
จึงตัดสินใจมาโรงพยาบาล
PH: ปฏิเสธประวัติโรคประจำตัวใดๆ
ปฏิเสธประวัติแพ้ยาแพ้อาหาร
ปฏิเสธการใช้ยาใดเป็นประจำ
FH: ปฏิเสธประวัติโรคทางพันธุกรรม เป็นบุตรคนแรก คลอดNL น้ำหนักแรกคลอด 3,3oo gm
ไม่มีปัญหาระหว่างตั้งครรภ์ ขณะนี้อาศัยอยู่กับ บิดา-มารดา
Well Child Care : กินนมแม่ ได้รับวัคซีนครบตามกำหนด พัฒนาการเป็นไปตามวัย (ชันคอได้แข็ง
คว้าของเข้าปาก หัวเราะ)
PE: vital signs BT 39.5C RR 40/min PR 120/min
GA : looked sick
HEENT : mild injected pharynx, anterior fontanel 3x3 cm. tense
Heart&lung : within normal limit
Abdomen : Soft, not tender
Neurological exam : drowsiness, pupil 3 mm. both eyes react to light
Motor : movement against gravity all by pain stimulation
Meningeal signs : Bruzinski's sign positive, no stiffness of neck, Kernig's sign negative
BBK : dorsiflexion both
Lab
CSF : WBC 550 cells/cu.mm RBC 2 cell/cu.mm Protein 80 mg/dl Sugar 20 mg/dl
Blood sugar 80 mg/dl
CSF culture : H. influinzae
แพทย์ให้การวินิจฉัยว่าเป็น Hemophilus meningitis ให้การรักษาด้วย cefotaxime 200 MKD IV q 6 hr และ Dexamethasone single dose ก่อนให้ antibiotic
Question 1 (Diagnosis)
การตรวจ Bruzinski's sign ให้ผลแม่นยำเพียงใดในการวินิจฉัย meningitisgเมื่อเทียบกับ CSF culture
ในผู้ป่วยอายุ 4 เดือนที่มีไข้สูง
P : เด็กทารก 4 เดิอน มีไข้สูง
I : Bruzinski's sign
C : CSF culture
O : Diagnosis meningitis
Question 2 (Therapy)
การให้ Dexamethasone ในผู้ป่วยอายุ 4 เดือน ที่เป็น Hemophilus meningitis สามารถลด hearing loss และmortality rate ได้หรือไม่
P : เด็กทารก 4 เดิอน ได้รับการวินัจฉัยว่าเป็น Hemophilus meningitis
I : Dexamethasone and cefotaxime
C : cefotaxime
O : reduce hearing loss and mortality rate
Assignment 1 Case 2 (Diagnosis) โดย นศพ.จิราพร จงฐิตินนท์
หญิงไทยโสดอายุ 18 ปี
CC: ท้องโดขึ้นมา 2 สัปดาห์
PI: 2 สัปดาห์ก่อน สังเกตว่าท้องโตขึ้นแถวท้องน้อย ไม่มีปวดท้อง ด้านซ้ายโตกว่าด้านขวา ไม่มีไข้ คลำไม่ได้ก้อน
1 สัปดาห์ก่อน ท้องเริ่มโตมากขึน ไม่มีปวดท้อง รู้สึกแน่นๆ ไม่มีปัสสาวะบ่อย
PH: No Underlying disease
No food & drug allergy
ไม่มีประวัติคนในบ้านเป็น CA ovary, uterus, colon, breast
OB&GYN history : ประจำเดือนมาครั้งแรกตอน 13 ปี มาสม่ำเสมอทุกเดือน มาครั้งละ 3-4 วัน ใช้ pad วันละ 2-3 แผ่น ไม่มีปวดท้องขณะมีประจำเดือน
LMP: 15 มิถุนายน 2552
ไม่เคยมีเพศสัมพันธ์
PE: GA : A thai woman, active
H&L : normal
Abdomen : mild distension, not tender, mass at left lower size 5x5 cm. ill-defined smooth
Other : WNL
U/S : solid and cyst mass at left ovary size 6x6 cm. irregular surface suggest malignancy
Dx. Ovary mass
PICO
P : Pt.ที่มีก้อนที่รังไข่
I: การทำ ultrasound เพื่อดู malignancy
C: การทำ explore laboratory เพื่อนำไป biopsy
O: ความแม่นยำ และความจำเพาะของ U/S
CC: ท้องโดขึ้นมา 2 สัปดาห์
PI: 2 สัปดาห์ก่อน สังเกตว่าท้องโตขึ้นแถวท้องน้อย ไม่มีปวดท้อง ด้านซ้ายโตกว่าด้านขวา ไม่มีไข้ คลำไม่ได้ก้อน
1 สัปดาห์ก่อน ท้องเริ่มโตมากขึน ไม่มีปวดท้อง รู้สึกแน่นๆ ไม่มีปัสสาวะบ่อย
PH: No Underlying disease
No food & drug allergy
ไม่มีประวัติคนในบ้านเป็น CA ovary, uterus, colon, breast
OB&GYN history : ประจำเดือนมาครั้งแรกตอน 13 ปี มาสม่ำเสมอทุกเดือน มาครั้งละ 3-4 วัน ใช้ pad วันละ 2-3 แผ่น ไม่มีปวดท้องขณะมีประจำเดือน
LMP: 15 มิถุนายน 2552
ไม่เคยมีเพศสัมพันธ์
PE: GA : A thai woman, active
H&L : normal
Abdomen : mild distension, not tender, mass at left lower size 5x5 cm. ill-defined smooth
Other : WNL
U/S : solid and cyst mass at left ovary size 6x6 cm. irregular surface suggest malignancy
Dx. Ovary mass
PICO
P : Pt.ที่มีก้อนที่รังไข่
I: การทำ ultrasound เพื่อดู malignancy
C: การทำ explore laboratory เพื่อนำไป biopsy
O: ความแม่นยำ และความจำเพาะของ U/S
Assignment I Case 2 โดย นศพ.ฤกษ์ชัย ถาวรานันต์
Case 2 Therapy
Patient Profile : ผู้ป่วยหญิงอายุ 42 ปี อาชีพรับราชการครู
CC: ขยับหัวแม่มือไม่ได้มา 1 วันก่อนมาโรงพยาบาล
PI: 1 อาทิตย์ก่อนมาโรงพยาบาล หลังจากตรวจข้อสอบนักเรียน 200 ฉบับ มีอาการปวดบริเวณโคนนิ้วมือ และจะมีอาการปวดมากขึ้นเวลาเอานิ้วกดบริเวณฐานนิ้วมือด้านหน้า แต่ยังไม่มีอาการติดสะดุด
4 วันก่อนมาโรงพยาบาล อาการปวดบวมแดงเพิ่มมากขึ้นด้วย เวลาขยับนิ้ว งอ และเหยียดนิ้ว จะมีการสะดุดจนรู้สึกได้ ใช้น้ำมันสมุนไพรนวดอาการไม่ดีขึ้น
1 วันก่อนมาโรงพยาบาล มีอาการติดล็อค โดยเมื่องอนิ้วลงไปแล้ว จะติดล็อคจนไม่สามารถเหยียดนิ้วออกเองได้ ต้องเอามืออีกข้างมาช่วยแกะ อาการเป็นมากขึ้นจนไม่สามารถงอนิ้วลงได้เอง จึงมาโรงพยาบาล
PH: ปฏิเสธโรคประจำตัวใดๆ
ไม่มีประวัติแพ้ยาแพ้อาหาร
ไม่เคยมีอาการแบบนี้มาก่อน ตรวจสุขภาพประจำปีทุกปีอยู่ในเกณฑ์ปกติ
Physical Examination
V/S: BT 37 C PR 80/min RR 22/min BP 120/80 mmHg
HEENT: not pale, no icteric sclera
Heart & Lung: WNL
Abdomen: WNL
Extremities : erythematous swelling right carpometacarpal joint of thumb and limit ROM (locked)
Diagnosis : Trigger finger of right thumb
Question: ประสิธิภาพของการใช้ steroid injection ในการรักษา Trigger finger ช่วยลดการติดของข้อได้ดีกว่า Placebo injection หรือไม่
P : Trigger finger patients
I : Steroid injection
C : Placebo injection
O :ประสิทธิภาพของ steroid injection ในการลดการติดของข้อ
นศพ. ฤกษ์ชัย ถาวรานันต์
Patient Profile : ผู้ป่วยหญิงอายุ 42 ปี อาชีพรับราชการครู
CC: ขยับหัวแม่มือไม่ได้มา 1 วันก่อนมาโรงพยาบาล
PI: 1 อาทิตย์ก่อนมาโรงพยาบาล หลังจากตรวจข้อสอบนักเรียน 200 ฉบับ มีอาการปวดบริเวณโคนนิ้วมือ และจะมีอาการปวดมากขึ้นเวลาเอานิ้วกดบริเวณฐานนิ้วมือด้านหน้า แต่ยังไม่มีอาการติดสะดุด
4 วันก่อนมาโรงพยาบาล อาการปวดบวมแดงเพิ่มมากขึ้นด้วย เวลาขยับนิ้ว งอ และเหยียดนิ้ว จะมีการสะดุดจนรู้สึกได้ ใช้น้ำมันสมุนไพรนวดอาการไม่ดีขึ้น
1 วันก่อนมาโรงพยาบาล มีอาการติดล็อค โดยเมื่องอนิ้วลงไปแล้ว จะติดล็อคจนไม่สามารถเหยียดนิ้วออกเองได้ ต้องเอามืออีกข้างมาช่วยแกะ อาการเป็นมากขึ้นจนไม่สามารถงอนิ้วลงได้เอง จึงมาโรงพยาบาล
PH: ปฏิเสธโรคประจำตัวใดๆ
ไม่มีประวัติแพ้ยาแพ้อาหาร
ไม่เคยมีอาการแบบนี้มาก่อน ตรวจสุขภาพประจำปีทุกปีอยู่ในเกณฑ์ปกติ
Physical Examination
V/S: BT 37 C PR 80/min RR 22/min BP 120/80 mmHg
HEENT: not pale, no icteric sclera
Heart & Lung: WNL
Abdomen: WNL
Extremities : erythematous swelling right carpometacarpal joint of thumb and limit ROM (locked)
Diagnosis : Trigger finger of right thumb
Question: ประสิธิภาพของการใช้ steroid injection ในการรักษา Trigger finger ช่วยลดการติดของข้อได้ดีกว่า Placebo injection หรือไม่
P : Trigger finger patients
I : Steroid injection
C : Placebo injection
O :ประสิทธิภาพของ steroid injection ในการลดการติดของข้อ
นศพ. ฤกษ์ชัย ถาวรานันต์
HARM
CASE1: HARM นศพ.อารียา ภูมิเดช
ผู้ป่วยเด็กชายไทย อายุ 6เดือน ภูมิลำเนา อ.หาดใหญ่
Chief complaint :30นาที PTA มารดาให้ประวัติว่าเด็กมีอาการชักเกร็งนาน 1 นาที
PI:8 ชม.PTA มารดาให้ประวัติว่า พาเด็กมารับวัคซีนป้องกันบาดทะยัก-คอตีบ-ไอกรนที่รพ. หลังฉีดเด็กปกติดี ทานอาหารได้ ร่าเริงปกติดี
2ชม.PTA มารดาสังเกตเด็กเริ่มมีอาการ ร้องงอแง มีอาการแดงเล็กน้อยบริเวณที่ฉีดยา เริ่มมีไข้ต่ำๆมารดาได้เช็ดตัวอาการไข้ลดลง แต่เด็กยังคงร้องงอแงมาก
30นาที PTAเด็กมีอาการชักแขนขาเกร็งทั้งตัว ไม่มีน้ำลายฟูมปาก ไม่มีอุจาระปัสสาวะราด หลังชักเด็กรู้สึกตัวดี มีอาการเพลียเล็กน้อยแต่ไม่ได้ซึมมากผิดปกติ แต่ยังรับประทานนมได้ตามปกติ ไม่มีแขนขาอ่อนแรง แต่ยังมีไข้และ อาการแดงบริเวณที่ฉีดยาเป็นมากขึ้น มารดาจึงพามารพ.
PH:ก่อนหน้านี้แข็งแรงดีมาตลอด ไม่เคยadmit
ประวัติได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ ไม่เคยมีประวัติมีอาการผิดปกติหลังรับวัคซีน
พัฒนาการปกติสมวัย
คนในครอบครัวไม่มีประวัติไข้แล้วชัก
ไม่มีประวัติแพ้ยาแพ้อาหารPE:มีอาการอ่อนเพลียเล็กน้อย ไม่มีไข้ ตรวจร่างกายปกติดีทุกระบบ
คำถาม:การเกิดผลข้างเคียง ไข้ ชักและ persistent crying บวมแดงบริเวณที่ฉีด ในเด็กทารก หลังได้รับวัคซีนDPTชนิด whole cell มีโอกาสเกิดมากกว่าชนิด acellular หรือไม่
P: ผู้ป่วยเด็กอายุน้อยกว่า 1ปี ที่มีอาการชักเกร็ง มีไข้ แดงบริเวณที่ฉีดยาร่วมด้วย หลังได้รับวัคซีนDPT
I: DPT whole cell vaccine
C:DPT acellular vaccine
O: Adverse effects after received DPT vaccine
ผู้ป่วยเด็กชายไทย อายุ 6เดือน ภูมิลำเนา อ.หาดใหญ่
Chief complaint :30นาที PTA มารดาให้ประวัติว่าเด็กมีอาการชักเกร็งนาน 1 นาที
PI:8 ชม.PTA มารดาให้ประวัติว่า พาเด็กมารับวัคซีนป้องกันบาดทะยัก-คอตีบ-ไอกรนที่รพ. หลังฉีดเด็กปกติดี ทานอาหารได้ ร่าเริงปกติดี
2ชม.PTA มารดาสังเกตเด็กเริ่มมีอาการ ร้องงอแง มีอาการแดงเล็กน้อยบริเวณที่ฉีดยา เริ่มมีไข้ต่ำๆมารดาได้เช็ดตัวอาการไข้ลดลง แต่เด็กยังคงร้องงอแงมาก
30นาที PTAเด็กมีอาการชักแขนขาเกร็งทั้งตัว ไม่มีน้ำลายฟูมปาก ไม่มีอุจาระปัสสาวะราด หลังชักเด็กรู้สึกตัวดี มีอาการเพลียเล็กน้อยแต่ไม่ได้ซึมมากผิดปกติ แต่ยังรับประทานนมได้ตามปกติ ไม่มีแขนขาอ่อนแรง แต่ยังมีไข้และ อาการแดงบริเวณที่ฉีดยาเป็นมากขึ้น มารดาจึงพามารพ.
PH:ก่อนหน้านี้แข็งแรงดีมาตลอด ไม่เคยadmit
ประวัติได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ ไม่เคยมีประวัติมีอาการผิดปกติหลังรับวัคซีน
พัฒนาการปกติสมวัย
คนในครอบครัวไม่มีประวัติไข้แล้วชัก
ไม่มีประวัติแพ้ยาแพ้อาหารPE:มีอาการอ่อนเพลียเล็กน้อย ไม่มีไข้ ตรวจร่างกายปกติดีทุกระบบ
คำถาม:การเกิดผลข้างเคียง ไข้ ชักและ persistent crying บวมแดงบริเวณที่ฉีด ในเด็กทารก หลังได้รับวัคซีนDPTชนิด whole cell มีโอกาสเกิดมากกว่าชนิด acellular หรือไม่
P: ผู้ป่วยเด็กอายุน้อยกว่า 1ปี ที่มีอาการชักเกร็ง มีไข้ แดงบริเวณที่ฉีดยาร่วมด้วย หลังได้รับวัคซีนDPT
I: DPT whole cell vaccine
C:DPT acellular vaccine
O: Adverse effects after received DPT vaccine
Assignment1 case 1 นศพธีรเดช ชนะกุล 4825064
case หญิงไทยคู่ อายุ 24 ปี G2P1A0 GA 32 wk
CC. ปวดท้อง 1 ชมก่อนมาโรงพยาบาล
PI. 1 ชม PTA มีอาการปวดท้อง บริเวณท้องแบบทั่วๆท้อง ปวดมากบริเวณท้องน้อย ลักษณะปวดแบบบีบๆ
ปวดเป็นพักๆ มีอาการปวดร้าวไปหลังร่วมด้วย ปวดเเต่ละครั้งห่างกันประมาณ4-5นาที
PH ปฎิเสธโรคประจำตัว
ปฎิเสธแพ้ยาแพ้อาหาร
ไม่เคยได้รับการผ่าตัดใด
ไม่มีปัญหาในช่วงฝากครรภ์
PE : V/S normal
GA: good conciousness
HEENT:not pale, no jaundice , no lymphadenopathy
Lungs:clear both sides
Heart:normal s1s2, no murmur
Abdomen: uterus FH ~ 3/4> umbilicus:
PV
cervical dilatation 1cm
Effacement 80%
station -2
DX: preterm labor
เคสนี้เตรียมให้ bricanylเพื่อช่วยยีดระยะเวลาการตั้งครรภ์ สงสัยว่า bricanyl ช่วยยืดระยะเวลาการตั้งครรภ์ได้จริงหรือไมเทียบกับไม่ได้ให้ยา
p pregnant preterm labor
I bricanyl
C placebo
O prolonged of lobor
นศพ ธีรเดช ชนะกุล 4825064
CC. ปวดท้อง 1 ชมก่อนมาโรงพยาบาล
PI. 1 ชม PTA มีอาการปวดท้อง บริเวณท้องแบบทั่วๆท้อง ปวดมากบริเวณท้องน้อย ลักษณะปวดแบบบีบๆ
ปวดเป็นพักๆ มีอาการปวดร้าวไปหลังร่วมด้วย ปวดเเต่ละครั้งห่างกันประมาณ4-5นาที
PH ปฎิเสธโรคประจำตัว
ปฎิเสธแพ้ยาแพ้อาหาร
ไม่เคยได้รับการผ่าตัดใด
ไม่มีปัญหาในช่วงฝากครรภ์
PE : V/S normal
GA: good conciousness
HEENT:not pale, no jaundice , no lymphadenopathy
Lungs:clear both sides
Heart:normal s1s2, no murmur
Abdomen: uterus FH ~ 3/4> umbilicus:
PV
cervical dilatation 1cm
Effacement 80%
station -2
DX: preterm labor
เคสนี้เตรียมให้ bricanylเพื่อช่วยยีดระยะเวลาการตั้งครรภ์ สงสัยว่า bricanyl ช่วยยืดระยะเวลาการตั้งครรภ์ได้จริงหรือไมเทียบกับไม่ได้ให้ยา
p pregnant preterm labor
I bricanyl
C placebo
O prolonged of lobor
นศพ ธีรเดช ชนะกุล 4825064
assignment1 :diagnosis นศพ.มลทิรา
PP:ผู้ป่วยหญิงไทยค่ อายุ 22 ปี อาชีพ นักศึกษา
CC:มีเลือดออกทางช่องคลอดมา 5 hrs PTA
PI:7 day PTA ผู้ป่วยตรวจการตั้งครรภ์ เอง พบว่าตั้งครรภ์ ( LMP 15/3/52) ยังไม่ได้ฝากครรภ์2 day pta มีอาการปวดท้องน้อยด้านซ้าย ปวดเป็นพักๆ กินยาแก้ปวดไม่ดีขึ้น มีคลื่นไส้ อาเจียรสองครั้ง5 hrs PTA มีเลือดออกทางช่องคลอด ลักษณะเลือดสีคล้ำ ไม่มีลักษณะถุงชิ้นเนื้อ ใช้ผ้าอนามัย 2 pad ไม่ชุ่ม จึงมา รพ.
PH: G2P0A1GA 9+ wks by LMPno U/Dปฏิเสธประวัติผ่าตัด เคยขูดมดลูกเมื่อ 1 ปีก่อน ( Incomplete abortion)
PE : V/S normal
GA: good conciousness
HEENT:not pale, no jaundice , no lymphadenopathy
Lungs:clear both sidesHeart:normal s1s2, no murmur
Abdomen: uterus FH ~ 1/3 > PS
PV: NIUB: normal
vg: bloody and clot
cervix: 1FT, bloody per os
adnexa: tenderness at lt. adnexa
UT: 10 wks sizecal de sac: not tenderness
U/S: พบ mix echoic mass บริเวณ left adnexa 2 x 2 cmno fluid, no intra uterine gestational sac
DX: Ectopic pregnancy
จากเคสนี้ สงสัยว่า การ วินิจฉัย Ectopic preg จากการ U/S มีความแม่นยำมากแค่ไหน เมื่อเปรียบเทียบกับ Laparoscopy
P:ectopic pregnancy women
I: transabdominal U/S
C:Laparoscopy ( gold standard)
O:ความแม่นยำในการ diag
CC:มีเลือดออกทางช่องคลอดมา 5 hrs PTA
PI:7 day PTA ผู้ป่วยตรวจการตั้งครรภ์ เอง พบว่าตั้งครรภ์ ( LMP 15/3/52) ยังไม่ได้ฝากครรภ์2 day pta มีอาการปวดท้องน้อยด้านซ้าย ปวดเป็นพักๆ กินยาแก้ปวดไม่ดีขึ้น มีคลื่นไส้ อาเจียรสองครั้ง5 hrs PTA มีเลือดออกทางช่องคลอด ลักษณะเลือดสีคล้ำ ไม่มีลักษณะถุงชิ้นเนื้อ ใช้ผ้าอนามัย 2 pad ไม่ชุ่ม จึงมา รพ.
PH: G2P0A1GA 9+ wks by LMPno U/Dปฏิเสธประวัติผ่าตัด เคยขูดมดลูกเมื่อ 1 ปีก่อน ( Incomplete abortion)
PE : V/S normal
GA: good conciousness
HEENT:not pale, no jaundice , no lymphadenopathy
Lungs:clear both sidesHeart:normal s1s2, no murmur
Abdomen: uterus FH ~ 1/3 > PS
PV: NIUB: normal
vg: bloody and clot
cervix: 1FT, bloody per os
adnexa: tenderness at lt. adnexa
UT: 10 wks sizecal de sac: not tenderness
U/S: พบ mix echoic mass บริเวณ left adnexa 2 x 2 cmno fluid, no intra uterine gestational sac
DX: Ectopic pregnancy
จากเคสนี้ สงสัยว่า การ วินิจฉัย Ectopic preg จากการ U/S มีความแม่นยำมากแค่ไหน เมื่อเปรียบเทียบกับ Laparoscopy
P:ectopic pregnancy women
I: transabdominal U/S
C:Laparoscopy ( gold standard)
O:ความแม่นยำในการ diag
Assignment 1 Case 1 (therapy) โดย นศพ.จิราพร จงฐิตินนท์
เด็กชายไทยอายุ 8 เดือน
CC: ไข้ ซึมมา 3 วัน
PI: 3 วันก่อนมีไข้สูง ไม่มีไอ ไม่มีน้ำมุก กินข้าวได้น้อยลง ปัสสาวะ อุจจาระ ปกติ
1 วันก่อนมีชักกระตุก ตาเหลือก ไม่มีปัสสาวะอุจจาระราด ประมาณ 2 นาที หลังชักเริ่มซึมลง กินนมได้ น้อยลง
วันนี้ซึมลงมากขึ้น ไม่เล่น ไม่ยิ้ม ไม่กินนม
PH: ไม่มีโรคประจำตัวใดๆ
ไม่แพ้ยา/แพ้อาหาร
คลอด normal labor น้ำหนักแรกคลอด 2800 กรัม ปกติดีหลังคลอด
วัคซีนรับครบตามกำหนด
PE: GA: drownsiness, sucken eye ball, mild dry lip
Bruzski's sign : Positive
DTR 2
Other : WNL
Lab: CBC: WBC 20,000
Hct 38%
Platelet 200,000
PMN 80%
L 18%
Mono 2%
Blood sugar : 115
CSF: cloudy, WBC 800 cell protein 80 sugar 20
CSF culture : H. influenza
Dx. H.influenza meningitis
PICO
P : Pt. ที่เป็น meningitis จาก H.influenza
I : การให้ dexamethasone ก่อน start antibiotic
C: การให้ antibiotic
O: ลด sensory hearing loss
CC: ไข้ ซึมมา 3 วัน
PI: 3 วันก่อนมีไข้สูง ไม่มีไอ ไม่มีน้ำมุก กินข้าวได้น้อยลง ปัสสาวะ อุจจาระ ปกติ
1 วันก่อนมีชักกระตุก ตาเหลือก ไม่มีปัสสาวะอุจจาระราด ประมาณ 2 นาที หลังชักเริ่มซึมลง กินนมได้ น้อยลง
วันนี้ซึมลงมากขึ้น ไม่เล่น ไม่ยิ้ม ไม่กินนม
PH: ไม่มีโรคประจำตัวใดๆ
ไม่แพ้ยา/แพ้อาหาร
คลอด normal labor น้ำหนักแรกคลอด 2800 กรัม ปกติดีหลังคลอด
วัคซีนรับครบตามกำหนด
PE: GA: drownsiness, sucken eye ball, mild dry lip
Bruzski's sign : Positive
DTR 2
Other : WNL
Lab: CBC: WBC 20,000
Hct 38%
Platelet 200,000
PMN 80%
L 18%
Mono 2%
Blood sugar : 115
CSF: cloudy, WBC 800 cell protein 80 sugar 20
CSF culture : H. influenza
Dx. H.influenza meningitis
PICO
P : Pt. ที่เป็น meningitis จาก H.influenza
I : การให้ dexamethasone ก่อน start antibiotic
C: การให้ antibiotic
O: ลด sensory hearing loss
therapy by นศพ.วิรยุทธ สนธิเมือง
Patient Profile : ผู้ป่วยหญิงไทยอายุ 48 ปี ภูมิลำเนา จ.ตรัง
ทำงานค้าขาย อยู่กับสามีและลูก 3 คน
Cheif complaint : ปวดประจำเดือนมากขึ้นมา 2 เดือนPresent illness :
2 ปีก่อนคลำได้ก้อนที่ท้องน้อย ประมาณเท่าลูกมะนาว ไม่มีอาการผิดปกติ ไม่
ได้รักษา
1 ปีก่อนมารพ.คลำได้ก้อนที่ท้องน้อยโตขึ้นเท่ากำปั้น เริ่มปวดประจำเดือน
จากเดิมที่ไม่เคยปวด ปวดก่อนมีประจำเดือน 1 วันและตลอดการมี
รอบเดือน หลังหมดประจำเดือนหายปวด ปริมาณประจำเดือนปกติดี ไม่มี nocturia , ไม่มีปัสสาวะบ่อย
กินยา paracetamol 6 tab/cycle กินยาเองทุกรอบเดือน
พบแพทย์ USG : บอกว่าเป็นก้อนเนื้องอกมดลูก 1 ก้อนเท่าแอปเปิ้ล ไม่อันตราย
6 เดือนก่อนปวดประจำเดือนมากขึ้น ปวดมากตลอดรอบเดือน
กินยา paracetamol ไม่ดีขึ้น ปริมาณประจำเดือนมากขึ้น จากเดิม
5 วันต่อรอบเป็น 15-20 วันต่อรอบเดือนปริมาณมากขึ้นจาก 3 แผ่นต่อวันเป็น 4-5
แผ่นต่อวัน มี nocturia 4-5 ครั้งต่อคืน frequency 4-5 ครั้งตอนกลางวัน
อุจจาระปกติดี
2 เดือนอาการปวดประจำเดือนไม่ดีขึ้น ปริมาณประจำเดือนมาก ไปพบแพทย์
เพื่อฉีดยาแก้ปวดและ repeat USG : บอกว่าก้อนเนื้องอกมดลูก มีเพิ่มเป็น 3
ก้อนและขนาดโตขึ้น
วันนี้นัดมาผ่าตัด ผู้ป่วยยังมีอาการปวดประจำเดือน ปริมาณยังมากขึ้นเหมือน
เดิม ใช้ผ้าอนามัย 5 แผ่นต่อวัน ไม่มีหน้ามืด ใจสั่นหรือจะเป็นลม ปัสสาวะบ่อย
อุจจาระปกติPast History: No underlying disease
**Allergy to ponstan** --> เวียนศีรษะ ไม่มีผื่น
no smoking
Ob-Gyne History:
-P 3-0-0-3 Last 18 yr NL
-First SI 17 yr
- Last SI 1 months
-เคยมีประวัติ PID 10+years
-Menarche 13 yrs
-Menstruation period: Interval 30+/-4days , duration
5 days ,amount 3 pads/day , no dysmenorrhea
-Last Pap smear 8/4/52 : TV --> complete treatment
-NO Contraception
- single partner
Physical exam:
GA: good consciousness
V/S: BT 37.2 C PR 78 /min RR 20 /min BP 105/71 mmHg
HEENT : Mild pale no jaundice
LN : cannot palpated
Breast : No mass
Abd : pelvic mass about 20 wk sized with firm consistency
nodularity,no guard, no rebound ,movable ,
No ascites
Ext : no edema
PV:
MIUB : normal
Vagina: normal d/c
Cervix: os close ,retracted to posterior , cervical polyp 0.5 cm at
Anterior lip
no contact bleeding
Uterus: 20 wks , asymmetry , firm mass 10 cm in diameter
at Lt side of anterior fundus , not tender
firm mass 5 cm at Rt anterior of uterus
movable
Adx : no mass , not tender
Culdesac : free , no mass
lab : WBC 5780 PMN 63
Hct 32%
BUN 14.8 CREA 0.59
LFTs normal
Anti HIV screening test Non Reactive
CXR : normal
EKG : normal , Sinus rhythm
>>Ultrasound Pelvis 22/4/52 : multiple myoma uteri
Imp : 1. Multiple myoma uteri
แพทย์วางแผนการรํกษาด้วยการทำTAH with BSO แต่ผู้ป่วยไม่อยากตัดมดลูก อยากให้หมอตัดเพียงก้อนเนื้อพียงอย่างเดียวจึงเกิดความสงสัยว่า
การทำmyomectomyจะทำให้ผู้ป่วยมีโอกาสเป็นซ้ำหรือไม่เมื่อเทียบกับการทำTAH with BSO
p:patient with mutiple myoma uteri
o:myomectomy
p:TAH with BSO
o:โอกาสเป็นซ้ำ
ทำงานค้าขาย อยู่กับสามีและลูก 3 คน
Cheif complaint : ปวดประจำเดือนมากขึ้นมา 2 เดือนPresent illness :
2 ปีก่อนคลำได้ก้อนที่ท้องน้อย ประมาณเท่าลูกมะนาว ไม่มีอาการผิดปกติ ไม่
ได้รักษา
1 ปีก่อนมารพ.คลำได้ก้อนที่ท้องน้อยโตขึ้นเท่ากำปั้น เริ่มปวดประจำเดือน
จากเดิมที่ไม่เคยปวด ปวดก่อนมีประจำเดือน 1 วันและตลอดการมี
รอบเดือน หลังหมดประจำเดือนหายปวด ปริมาณประจำเดือนปกติดี ไม่มี nocturia , ไม่มีปัสสาวะบ่อย
กินยา paracetamol 6 tab/cycle กินยาเองทุกรอบเดือน
พบแพทย์ USG : บอกว่าเป็นก้อนเนื้องอกมดลูก 1 ก้อนเท่าแอปเปิ้ล ไม่อันตราย
6 เดือนก่อนปวดประจำเดือนมากขึ้น ปวดมากตลอดรอบเดือน
กินยา paracetamol ไม่ดีขึ้น ปริมาณประจำเดือนมากขึ้น จากเดิม
5 วันต่อรอบเป็น 15-20 วันต่อรอบเดือนปริมาณมากขึ้นจาก 3 แผ่นต่อวันเป็น 4-5
แผ่นต่อวัน มี nocturia 4-5 ครั้งต่อคืน frequency 4-5 ครั้งตอนกลางวัน
อุจจาระปกติดี
2 เดือนอาการปวดประจำเดือนไม่ดีขึ้น ปริมาณประจำเดือนมาก ไปพบแพทย์
เพื่อฉีดยาแก้ปวดและ repeat USG : บอกว่าก้อนเนื้องอกมดลูก มีเพิ่มเป็น 3
ก้อนและขนาดโตขึ้น
วันนี้นัดมาผ่าตัด ผู้ป่วยยังมีอาการปวดประจำเดือน ปริมาณยังมากขึ้นเหมือน
เดิม ใช้ผ้าอนามัย 5 แผ่นต่อวัน ไม่มีหน้ามืด ใจสั่นหรือจะเป็นลม ปัสสาวะบ่อย
อุจจาระปกติPast History: No underlying disease
**Allergy to ponstan** --> เวียนศีรษะ ไม่มีผื่น
no smoking
Ob-Gyne History:
-P 3-0-0-3 Last 18 yr NL
-First SI 17 yr
- Last SI 1 months
-เคยมีประวัติ PID 10+years
-Menarche 13 yrs
-Menstruation period: Interval 30+/-4days , duration
5 days ,amount 3 pads/day , no dysmenorrhea
-Last Pap smear 8/4/52 : TV --> complete treatment
-NO Contraception
- single partner
Physical exam:
GA: good consciousness
V/S: BT 37.2 C PR 78 /min RR 20 /min BP 105/71 mmHg
HEENT : Mild pale no jaundice
LN : cannot palpated
Breast : No mass
Abd : pelvic mass about 20 wk sized with firm consistency
nodularity,no guard, no rebound ,movable ,
No ascites
Ext : no edema
PV:
MIUB : normal
Vagina: normal d/c
Cervix: os close ,retracted to posterior , cervical polyp 0.5 cm at
Anterior lip
no contact bleeding
Uterus: 20 wks , asymmetry , firm mass 10 cm in diameter
at Lt side of anterior fundus , not tender
firm mass 5 cm at Rt anterior of uterus
movable
Adx : no mass , not tender
Culdesac : free , no mass
lab : WBC 5780 PMN 63
Hct 32%
BUN 14.8 CREA 0.59
LFTs normal
Anti HIV screening test Non Reactive
CXR : normal
EKG : normal , Sinus rhythm
>>Ultrasound Pelvis 22/4/52 : multiple myoma uteri
Imp : 1. Multiple myoma uteri
แพทย์วางแผนการรํกษาด้วยการทำTAH with BSO แต่ผู้ป่วยไม่อยากตัดมดลูก อยากให้หมอตัดเพียงก้อนเนื้อพียงอย่างเดียวจึงเกิดความสงสัยว่า
การทำmyomectomyจะทำให้ผู้ป่วยมีโอกาสเป็นซ้ำหรือไม่เมื่อเทียบกับการทำTAH with BSO
p:patient with mutiple myoma uteri
o:myomectomy
p:TAH with BSO
o:โอกาสเป็นซ้ำ
Assignment I โดย นศพ.ไพรัช ศิริกุล (Case2)
CASE 2 (Diagnosis) : หญิงไทยคู่ อายุ 23 ปี อาชีพ รับราชการ
CC : มีอาการปวดท้องน้อย 3 hr. PTA
PI : 1 วันก่อนมารพ. มีอาการตกขาวมีกลิ่มเหม็น ลักษณะสีขาวขุ่น พอเปื้อนกางเกงใน ไม่มีอาการปวดท้อง มีไข้ต่ำๆ
3 ชม. ก่อนมารพ. มีอาการปวดถ่วงบริเวณท้องน้อย มีไข้สูง ยังคงมีตกขาวมีกลิ่นเหม็น ปัสสวาะ แสบขัด
PH : 1 ปีก่อน เคยป่วยเป็นโรคปีกมดลูกอักเสบ
ปฏิเสธโรคประจำตัวตัวอื่นๆ
LMP 15 มีนาคม 2552(Interval 30 , duration 5 )
PE
V/S BT 38.2 C, RR 24 /min , HR 100/min,BP 110/80 mmHg
Abd : soft, marked tender at suprapubic
PV : NIUB : Normal
Vagina : Yellowish discharg
Cervix : Os close, Cervical motion tenderness
ADX : No mass
แพทย์ให้การวินิจฉัยว่าเป็น Acute pelvic inflamatory disease
คำถาม การให้การวินิจฉัย Acute pelvic inflamatory disease โดยอาศัยเกณฑ์ของ CDC ให้ผลที่แม่นยำเมื่อเทียบกับ Laproscopic ซึ่งถือว่าเป็นgold standard ได้หรือไม่
PICO
P : ผู้ป่วยหญิงที่มาด้วยอาการปวดท้องน้อยร่วมกับมีอาการตกขาว
I : Criteria of CDC
C : Lapraloscopic
O : sensitivity and specificity ในการวินิจฉัย
นศพ ไพรัช ศิริกุล
CC : มีอาการปวดท้องน้อย 3 hr. PTA
PI : 1 วันก่อนมารพ. มีอาการตกขาวมีกลิ่มเหม็น ลักษณะสีขาวขุ่น พอเปื้อนกางเกงใน ไม่มีอาการปวดท้อง มีไข้ต่ำๆ
3 ชม. ก่อนมารพ. มีอาการปวดถ่วงบริเวณท้องน้อย มีไข้สูง ยังคงมีตกขาวมีกลิ่นเหม็น ปัสสวาะ แสบขัด
PH : 1 ปีก่อน เคยป่วยเป็นโรคปีกมดลูกอักเสบ
ปฏิเสธโรคประจำตัวตัวอื่นๆ
LMP 15 มีนาคม 2552(Interval 30 , duration 5 )
PE
V/S BT 38.2 C, RR 24 /min , HR 100/min,BP 110/80 mmHg
Abd : soft, marked tender at suprapubic
PV : NIUB : Normal
Vagina : Yellowish discharg
Cervix : Os close, Cervical motion tenderness
ADX : No mass
แพทย์ให้การวินิจฉัยว่าเป็น Acute pelvic inflamatory disease
คำถาม การให้การวินิจฉัย Acute pelvic inflamatory disease โดยอาศัยเกณฑ์ของ CDC ให้ผลที่แม่นยำเมื่อเทียบกับ Laproscopic ซึ่งถือว่าเป็นgold standard ได้หรือไม่
PICO
P : ผู้ป่วยหญิงที่มาด้วยอาการปวดท้องน้อยร่วมกับมีอาการตกขาว
I : Criteria of CDC
C : Lapraloscopic
O : sensitivity and specificity ในการวินิจฉัย
นศพ ไพรัช ศิริกุล
Assignment I Case 1 โดย นศพ.ฤกษ์ชัย ถาวรานันต์
Case 1 Diagnosis
Patient Profile : เด็กชายไทยอายุ 12 ปี ภูมิลำเนา อ.สะเดา จ.สงขลา
CC: มีไข้สูง 2 วัน ก่อนมาโรงพยาบาล
PI: 2 วัน ก่อนมาโรงพยาบาล มีไข้สูง มีอาการปวดศีรษะ ไม่มีอาการไอหรือมีน้ำมูกหรือเจ็บคอ ไม่มีผื่นขึ้นตามแขนขาลำตัว ไม่มีอาการคลื่นไส้อาเจียน ไม่มีถ่ายเหลว ไม่มีอาการปัสสาวะแสบขัดหรือปวดบริเวณบั้นเอว ทานอาหารไม่ได้ กินยาลดไข้ Paracetamolและเช็ดตัวลดไข้อาการไข้ไม่ลดลง
1 ชั่วโมง ก่อนมาโรงพยาบาลยังคงมีไข้สูงมาก มารดาจึงพามาโรงพยาบาล
PH: ปฏิเสธโรคประจำตัวใดๆ
ไม่มีประวัติแพ้ยาแพ้อาหาร
ได้รับ vaccine ครบตามเกณฑ์
บริเวณบ้านเป็นแหล่งระบาดของโรคไข้เลือดออกและชิคุนกุนยา
Physical Examination
V/S: BT 40.0 C PR 110/min RR 22/min BP 110/80 mmHg
HEENT: not pale, no icteric sclera ,no dry lips, look fatigue
Heart & Lung: WNL
Abdomen: soft, mild tender at RUQ , normal bowel sound , no hepatosplenomegaly
Extremities : no rash , no poor skin turgor , pulses full all ,capillary refill < 2 sec
Tourniquet test negative
Laboratory investigation
CBC : normal UA : Normal
Situation : มารดาต้องการทราบทันทีว่าลูกเป็นไข้เลือดออกหรือไม่ มีวิธีการตรวจอย่างไรบ้างที่ทราบผลโดยเร็วที่สุดโดยไม่ต้องรอตรวจเลือดวันที่สามของอาการไข้ เช่น การตรวจหาเชื้อไวรัสโดยตรง
Question: การใช้ commercial kit (NS1 antigen test) ในการวินิจฉัยโรคไข้เลือดออกก่อนวันที่ 3 ของอาการไข้มีความแม่นยำมากเพียงไรเมื่อเทียบกับ PCR หรือ Viral isolation (gold standard)
P : Acute febrile illness Child Patients before day 3 of fever
I : NS1 antigen test
C : RT-PCR or Viral isolation (gold standard)
O : Accuracy (sensitivity,specificity ) of NS1 Antigen test to diagnose DHF before day 3 of fever
นศพ. ฤกษ์ชัย ถาวรานันต์
Patient Profile : เด็กชายไทยอายุ 12 ปี ภูมิลำเนา อ.สะเดา จ.สงขลา
CC: มีไข้สูง 2 วัน ก่อนมาโรงพยาบาล
PI: 2 วัน ก่อนมาโรงพยาบาล มีไข้สูง มีอาการปวดศีรษะ ไม่มีอาการไอหรือมีน้ำมูกหรือเจ็บคอ ไม่มีผื่นขึ้นตามแขนขาลำตัว ไม่มีอาการคลื่นไส้อาเจียน ไม่มีถ่ายเหลว ไม่มีอาการปัสสาวะแสบขัดหรือปวดบริเวณบั้นเอว ทานอาหารไม่ได้ กินยาลดไข้ Paracetamolและเช็ดตัวลดไข้อาการไข้ไม่ลดลง
1 ชั่วโมง ก่อนมาโรงพยาบาลยังคงมีไข้สูงมาก มารดาจึงพามาโรงพยาบาล
PH: ปฏิเสธโรคประจำตัวใดๆ
ไม่มีประวัติแพ้ยาแพ้อาหาร
ได้รับ vaccine ครบตามเกณฑ์
บริเวณบ้านเป็นแหล่งระบาดของโรคไข้เลือดออกและชิคุนกุนยา
Physical Examination
V/S: BT 40.0 C PR 110/min RR 22/min BP 110/80 mmHg
HEENT: not pale, no icteric sclera ,no dry lips, look fatigue
Heart & Lung: WNL
Abdomen: soft, mild tender at RUQ , normal bowel sound , no hepatosplenomegaly
Extremities : no rash , no poor skin turgor , pulses full all ,capillary refill < 2 sec
Tourniquet test negative
Laboratory investigation
CBC : normal UA : Normal
Situation : มารดาต้องการทราบทันทีว่าลูกเป็นไข้เลือดออกหรือไม่ มีวิธีการตรวจอย่างไรบ้างที่ทราบผลโดยเร็วที่สุดโดยไม่ต้องรอตรวจเลือดวันที่สามของอาการไข้ เช่น การตรวจหาเชื้อไวรัสโดยตรง
Question: การใช้ commercial kit (NS1 antigen test) ในการวินิจฉัยโรคไข้เลือดออกก่อนวันที่ 3 ของอาการไข้มีความแม่นยำมากเพียงไรเมื่อเทียบกับ PCR หรือ Viral isolation (gold standard)
P : Acute febrile illness Child Patients before day 3 of fever
I : NS1 antigen test
C : RT-PCR or Viral isolation (gold standard)
O : Accuracy (sensitivity,specificity ) of NS1 Antigen test to diagnose DHF before day 3 of fever
นศพ. ฤกษ์ชัย ถาวรานันต์
assignment 2/2 โดย นักศึกษาแพทย์ธนทรัพย์ รักขิโต
case 2/2
Pt profile : หญิงไทยคู่ อายุ 30 ปี G3p2A0 GA 40 weeks by LMP
Chief complaint : ปวดท้องคลอด 3 ชั่วโมง ก่อนมาโรงพยาบาล
Presnt illness : 3 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล เริ่มมีอาการปวดบีบรัดที่หน้าท้อง อาการปวดท้องจะปวดบีบเป็นพักๆ โดยสังเกตว่าตอนแรกจะปวดบีบไม่มากนัก สามรารถทนได้ แต่ต่อมาจะมีอาการปวดบีบแน่นรุนแรงมากขึ้น ปวดค้างนานประมาณ 3-5 นาที ห่างกันแต่ละรอบนานประมาณ10-15 นาที มีอาการปวดร้าวไปด้านหลังและลงล่าง ไม่มีน้ำเดิน สังเกตว่าอาการปวดท้องเป็นมากขึ้น จึงมาโรงพยาบาล
Past history : ไม่มีโรคประจำตัว ไม่มีประวัติแพ้ยา แพ้อาหาร
มาฝากครรภ์สม่ำเสมอ
ANC data :
Hct 34 mg% ,anti HIV -ve, VDRL 1&2 -ve, HBsAg -ve, OF/DCIP -ve/-ve,Blood gr. A ,Rh+ve
Physical examination :
GA : good concousness , not pale ,no jaundicev/s :BT 37.3 c , RR 20 times/min, PR 80 times/min, BP 135/80 mmHg
HEENT: normal
Heart &lung: WNL
Abdomen : fundal height 3/4+ ,fetal posotion breech, FHS 140 times/min, EFBW 3500 g
Extremities : no pitting oedema
pelvic examination : dilatation 5 cm effacement 80 %
membrane intact station 0
presentation breech position -
Mode fo delivery : nornal labour EBL 200 cc
Child female 3,600 g Apgar 9,9
การคลอดเป็นไปอย่างปกติ ไม่มีภาวะแทรกซ้อน ตอนเช้าสูติแพทย์มาดูคนไข้ ทั้งมารดา และทารก อาการปกติ แต่มารดามีข้อสงสัยเพราะมีความเชื่อของตระกูลว่า หากทารกที่คลอดท่าก้นจะทำให้ต่อไปจะมีก้นขนาดใหญ่ หรือไม่ลักษณะก้นจะเด้งกว่าเด็กปกติทั่วไป จึงถามแพทย์เจ้าของไข้ เพื่อความกระจ่างถึงข้อมูลทางการแพทย์ต่อความเชื่อดังกล่าว
คำถาม :การคลอดของทารกที่มีส่วนนำเป็นท่า breech โดยวิธีธรรมชาติ เมื่อเทียบกับการผ่าท้องคลอด มีผลต่อลักษณะสรีรก้นของทารกในอนาคตอย่างไร ?
P : ทารกที่มีส่วนเป็นท่า breech
I : การคลอดโดย breech assisting
C: การผ่าท้องคลอดของทารกที่มีส่วนนำเป็น breech
O: รูปร่างลักษณะของก้นของเด็กทารกในอนาคต
Pt profile : หญิงไทยคู่ อายุ 30 ปี G3p2A0 GA 40 weeks by LMP
Chief complaint : ปวดท้องคลอด 3 ชั่วโมง ก่อนมาโรงพยาบาล
Presnt illness : 3 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล เริ่มมีอาการปวดบีบรัดที่หน้าท้อง อาการปวดท้องจะปวดบีบเป็นพักๆ โดยสังเกตว่าตอนแรกจะปวดบีบไม่มากนัก สามรารถทนได้ แต่ต่อมาจะมีอาการปวดบีบแน่นรุนแรงมากขึ้น ปวดค้างนานประมาณ 3-5 นาที ห่างกันแต่ละรอบนานประมาณ10-15 นาที มีอาการปวดร้าวไปด้านหลังและลงล่าง ไม่มีน้ำเดิน สังเกตว่าอาการปวดท้องเป็นมากขึ้น จึงมาโรงพยาบาล
Past history : ไม่มีโรคประจำตัว ไม่มีประวัติแพ้ยา แพ้อาหาร
มาฝากครรภ์สม่ำเสมอ
ANC data :
Hct 34 mg% ,anti HIV -ve, VDRL 1&2 -ve, HBsAg -ve, OF/DCIP -ve/-ve,Blood gr. A ,Rh+ve
Physical examination :
GA : good concousness , not pale ,no jaundicev/s :BT 37.3 c , RR 20 times/min, PR 80 times/min, BP 135/80 mmHg
HEENT: normal
Heart &lung: WNL
Abdomen : fundal height 3/4+ ,fetal posotion breech, FHS 140 times/min, EFBW 3500 g
Extremities : no pitting oedema
pelvic examination : dilatation 5 cm effacement 80 %
membrane intact station 0
presentation breech position -
Mode fo delivery : nornal labour EBL 200 cc
Child female 3,600 g Apgar 9,9
การคลอดเป็นไปอย่างปกติ ไม่มีภาวะแทรกซ้อน ตอนเช้าสูติแพทย์มาดูคนไข้ ทั้งมารดา และทารก อาการปกติ แต่มารดามีข้อสงสัยเพราะมีความเชื่อของตระกูลว่า หากทารกที่คลอดท่าก้นจะทำให้ต่อไปจะมีก้นขนาดใหญ่ หรือไม่ลักษณะก้นจะเด้งกว่าเด็กปกติทั่วไป จึงถามแพทย์เจ้าของไข้ เพื่อความกระจ่างถึงข้อมูลทางการแพทย์ต่อความเชื่อดังกล่าว
คำถาม :การคลอดของทารกที่มีส่วนนำเป็นท่า breech โดยวิธีธรรมชาติ เมื่อเทียบกับการผ่าท้องคลอด มีผลต่อลักษณะสรีรก้นของทารกในอนาคตอย่างไร ?
P : ทารกที่มีส่วนเป็นท่า breech
I : การคลอดโดย breech assisting
C: การผ่าท้องคลอดของทารกที่มีส่วนนำเป็น breech
O: รูปร่างลักษณะของก้นของเด็กทารกในอนาคต
Assignment I โดย นศพ.จันทร์จิรา แต่ศักดาธรรม(Case2)
Case
หญิงไทยคู่อายุ 26 ปี G2P1 GA 34 wk มาตามนัดปกติที่คลินิกฝากครรภ์
ครรภ์ก่อนผ่าตัดทำคลอดทางหน้าท้องเนื่องจากไม่มีแรงเบ่ง เด็กน้ำหนัก3,000 กรัม แข็งแรงดีกลับบ้านพร้อมแม่ ครรภ์นี้ปกติดีไม่มีภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์ แพทย์นัดวันเพื่อทำการผ่าตัดทำคลอดผู้ป่วยสงสัยว่าหากจะคลอดเองตามธรรมชาติได้หรือไม่ มีความเสี่ยงมากน้อยเพียงใด
P : Previous cesarean section
I :Vaginal birth
C :Elective cesarean section
O :Mortality ,Morbidity
Search term: Vaginal birth after cesarean section Mortality
Question: ผู้ป่วยที่เคยผ่าตัดทำคลอดมาก่อนจะมีความเสี่ยงมากน้อยเพียงใดหากจะคลอดเองตามธรรมชาติในครรภ์หลัง
หญิงไทยคู่อายุ 26 ปี G2P1 GA 34 wk มาตามนัดปกติที่คลินิกฝากครรภ์
ครรภ์ก่อนผ่าตัดทำคลอดทางหน้าท้องเนื่องจากไม่มีแรงเบ่ง เด็กน้ำหนัก3,000 กรัม แข็งแรงดีกลับบ้านพร้อมแม่ ครรภ์นี้ปกติดีไม่มีภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์ แพทย์นัดวันเพื่อทำการผ่าตัดทำคลอดผู้ป่วยสงสัยว่าหากจะคลอดเองตามธรรมชาติได้หรือไม่ มีความเสี่ยงมากน้อยเพียงใด
P : Previous cesarean section
I :Vaginal birth
C :Elective cesarean section
O :Mortality ,Morbidity
Search term: Vaginal birth after cesarean section Mortality
Question: ผู้ป่วยที่เคยผ่าตัดทำคลอดมาก่อนจะมีความเสี่ยงมากน้อยเพียงใดหากจะคลอดเองตามธรรมชาติในครรภ์หลัง
Diagnosis by กิติกร จันทร์ศิริ
CC: ฝากครรภ์ตามแพทย์นัด
PI: เคสผู้หญิงไทยคู่ G1P0 GA 34 wk by LMP
ฝากท้องครั้งที่6 มาฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์ 8 สัปดาห์
ลูกดิ้นดี ไม่มีประวัติน้ำเดิน ไม่มีเจ็บครรภ์คลอด ไม่มีอาการคลื่นไส้อาเจียน
PH: ปฏิเสธประวัติโรคประจำตัว
ปฏิเสธประวัติแพ้ยาแพ้อาหาร
ปฏิเสธโรคถ่ายทอดทางพันธุกรรม
OB-GYN :ปฏิเสธประวัติการผ่าตัดทางนรีเวช
ปฏิเสธประวัติโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ประจำเดือนมาสม่ำเสมอ LMP 3 พฤศจิกายน 2551
PE : V/S BT 37 C, BP 120/80 mmHg , PR 75/min ,RR 20/min
GA : good conciousness
HEENT : not pale, no jaundice
Heart : normal s1,s2 no murmur
Lungs: clear of both lungs
Abdomen : fundal high 3/4>PS , FHS 120/min, breech presentation, not tender ,active bowel sound
Extremity : no pitting edema, no skin lesion
P : pregnancy women
I : Leopold maneuvour
C : Ultrasound
O : diag breech presentation
คำถามก็คือว่า .... อยากทราบว่าการวินิจฉัยท่าก้น(Breech presentation) โดยLeopold maneuvour มีความแม่นยำเพียงใดเมื่อเทียบกับการตรวจโดย Ultrasound
PI: เคสผู้หญิงไทยคู่ G1P0 GA 34 wk by LMP
ฝากท้องครั้งที่6 มาฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์ 8 สัปดาห์
ลูกดิ้นดี ไม่มีประวัติน้ำเดิน ไม่มีเจ็บครรภ์คลอด ไม่มีอาการคลื่นไส้อาเจียน
PH: ปฏิเสธประวัติโรคประจำตัว
ปฏิเสธประวัติแพ้ยาแพ้อาหาร
ปฏิเสธโรคถ่ายทอดทางพันธุกรรม
OB-GYN :ปฏิเสธประวัติการผ่าตัดทางนรีเวช
ปฏิเสธประวัติโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ประจำเดือนมาสม่ำเสมอ LMP 3 พฤศจิกายน 2551
PE : V/S BT 37 C, BP 120/80 mmHg , PR 75/min ,RR 20/min
GA : good conciousness
HEENT : not pale, no jaundice
Heart : normal s1,s2 no murmur
Lungs: clear of both lungs
Abdomen : fundal high 3/4>PS , FHS 120/min, breech presentation, not tender ,active bowel sound
Extremity : no pitting edema, no skin lesion
P : pregnancy women
I : Leopold maneuvour
C : Ultrasound
O : diag breech presentation
คำถามก็คือว่า .... อยากทราบว่าการวินิจฉัยท่าก้น(Breech presentation) โดยLeopold maneuvour มีความแม่นยำเพียงใดเมื่อเทียบกับการตรวจโดย Ultrasound
assingment 1 diagnosis โดย นศพ. ชนิดา เพ็ชศรี
PP : หญิงไทยคู่ อายุ 45 ปี G2P1 ภูมิลำเนา อ. ควนเนียง จ. สงขลา
CC : มาฝากครรภ์ตามนัด
PI : G2P1 GA 18 สัปดาห์ มาฝากครรภ์ ครั้งที่ 3 ฝากครั้งแรกเมื่อ อายุครรภ์ 10 สัปดาห์
ลูดดิ้นดี ไม่มีอาการคลื่นใส้อาเจียน เวียนศีรษะ มารดาสุขภาพแข็งแรงดี ผลเลือดปกติ
ลูกคนแรก เพศชาย อายุ 12 ปี ปกติดี สุขภาพแข็งแรง คลอดปกติ
PH : ปฏิเสธประวัติโรคประจำตัว
ปฏิเสธประวัติแพ้ยาแพ้อาหาร
OB-GYN: ปฏิเสธประวัติผ่าตัด
ปฏิเสธประวัติโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
มีประวัติลูกของพี่สาว เป็น Down Syndrome
LMP 14 กพ. 2552
ประจำเดือนมาสม่ำเสมอ interval 28 day, duration 5 day, 3 pad/day
PE : V/S BT 36.5C, BP 120/80 mmHg , PR 75/min ,RR 20/min
GA : good conciousness
HEENT : not pale, no jaundice
Heart&Lungs: normal
Abdomen : fundal high 2/3>PS , FHS 140/min, Vx, OR
not tender ,active bowel sound
Extremity : no pitting edema, no skin lesion
คำถาม : การตรวจปัสสาวะที่มีสารHyperglycosylated HCG ของหญิงตั้งครรภ์เพื่อวินิจฉัยDown Syndrome มีความแม่นยำเพียงใด
P : หญิงตั้งครรภ์ อายุ > 35 ปี
I : การตรวจหาสารHyperglycosylated HCGในปัสสาวะ
C : Amniocentesis
O : ความสามารถในการวินิจฉัย Down Syndrome
CC : มาฝากครรภ์ตามนัด
PI : G2P1 GA 18 สัปดาห์ มาฝากครรภ์ ครั้งที่ 3 ฝากครั้งแรกเมื่อ อายุครรภ์ 10 สัปดาห์
ลูดดิ้นดี ไม่มีอาการคลื่นใส้อาเจียน เวียนศีรษะ มารดาสุขภาพแข็งแรงดี ผลเลือดปกติ
ลูกคนแรก เพศชาย อายุ 12 ปี ปกติดี สุขภาพแข็งแรง คลอดปกติ
PH : ปฏิเสธประวัติโรคประจำตัว
ปฏิเสธประวัติแพ้ยาแพ้อาหาร
OB-GYN: ปฏิเสธประวัติผ่าตัด
ปฏิเสธประวัติโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
มีประวัติลูกของพี่สาว เป็น Down Syndrome
LMP 14 กพ. 2552
ประจำเดือนมาสม่ำเสมอ interval 28 day, duration 5 day, 3 pad/day
PE : V/S BT 36.5C, BP 120/80 mmHg , PR 75/min ,RR 20/min
GA : good conciousness
HEENT : not pale, no jaundice
Heart&Lungs: normal
Abdomen : fundal high 2/3>PS , FHS 140/min, Vx, OR
not tender ,active bowel sound
Extremity : no pitting edema, no skin lesion
คำถาม : การตรวจปัสสาวะที่มีสารHyperglycosylated HCG ของหญิงตั้งครรภ์เพื่อวินิจฉัยDown Syndrome มีความแม่นยำเพียงใด
P : หญิงตั้งครรภ์ อายุ > 35 ปี
I : การตรวจหาสารHyperglycosylated HCGในปัสสาวะ
C : Amniocentesis
O : ความสามารถในการวินิจฉัย Down Syndrome
CASE 1 THERAPY
Case 1(therapy) หญิงไทยคู่ อายุ 32 ปี G1P0A0 GA 38 WK.
CC : Refer มาด้วย ความดันโลหิตสูง 180/110
PI : 1 เดือนก่อนมารพ ขณะมาตรวจครรภ์ตามนัด วัดความดันโลหิต ได้ 140/90 ตรวจปัสสาวะพบโปรตีนในปัสสาวะ 1+ แพทย์ให้การวินิจฉัยเป็นความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ ให้การรักษา โดยให้ Hydralazine oral 1*3 ,pc
วันนี้ ขณะนั่งรอ ตรวจครรภ์ ตามนัด มีอาการปวดศรีษะ เจ็บแน่นลิ้นปี่ วัดความดันโลหิต ได้ 180/ 110 ตรวจปัสสาวะพบ โปรตีน 3+ ให้การรรักษาเบื้องต้นโดย ให้ Hydralazine 5 mg IV stat and MgSO4 5 g IV
PH : ปฏิเสธโรคประจำตัว เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง
ปฏิเสธประวัติแพ้ยา แพ้อาหาร
Review of system :ปกติPE: vital signs BT 37.2 C, RR 24/min , HR 100/ min ,BP 170/ 100 mmHgAbdomen FH ¾ > O position OL FHS 140/minPV Cx dilate 2 cm , eff 50%, MI, station -2Investigation : CBC - Hct 30%, other : normal
UA protein 3 + LFT : Normal
BUN/Cr : Normal
เมื่อมาถึงโรงพยาบาล หาดใหญ่แพทย์ได้ให้ Hydralazine 5 mg IV และให้ MgSO4 2 mg/hr IV วัดความดันโลหิตซ้ำๆได้ 160/100 mmHg จึงพิจารณาคลอด
คำถาม เกิดความสงสัย เรื่องยาลดความดันโลหิตสูง ที่ใช้ในหญิงตั้งครรภ์ว่าสามารถใช้ยากลุ่ม B-blockได้หรือไม่
PICO
P : หญิงตั้งครรภ์ ที่มี GA มากกว่า 37 wk และมีความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ เป็นครั้งแรก
I : B-blocker
C : Hydralazine
O : สามารถลดความดันโลหิตสูง และลด morbidity and mortality
นศพ ไพรัช ศิริกุล
CC : Refer มาด้วย ความดันโลหิตสูง 180/110
PI : 1 เดือนก่อนมารพ ขณะมาตรวจครรภ์ตามนัด วัดความดันโลหิต ได้ 140/90 ตรวจปัสสาวะพบโปรตีนในปัสสาวะ 1+ แพทย์ให้การวินิจฉัยเป็นความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ ให้การรักษา โดยให้ Hydralazine oral 1*3 ,pc
วันนี้ ขณะนั่งรอ ตรวจครรภ์ ตามนัด มีอาการปวดศรีษะ เจ็บแน่นลิ้นปี่ วัดความดันโลหิต ได้ 180/ 110 ตรวจปัสสาวะพบ โปรตีน 3+ ให้การรรักษาเบื้องต้นโดย ให้ Hydralazine 5 mg IV stat and MgSO4 5 g IV
PH : ปฏิเสธโรคประจำตัว เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง
ปฏิเสธประวัติแพ้ยา แพ้อาหาร
Review of system :ปกติPE: vital signs BT 37.2 C, RR 24/min , HR 100/ min ,BP 170/ 100 mmHgAbdomen FH ¾ > O position OL FHS 140/minPV Cx dilate 2 cm , eff 50%, MI, station -2Investigation : CBC - Hct 30%, other : normal
UA protein 3 + LFT : Normal
BUN/Cr : Normal
เมื่อมาถึงโรงพยาบาล หาดใหญ่แพทย์ได้ให้ Hydralazine 5 mg IV และให้ MgSO4 2 mg/hr IV วัดความดันโลหิตซ้ำๆได้ 160/100 mmHg จึงพิจารณาคลอด
คำถาม เกิดความสงสัย เรื่องยาลดความดันโลหิตสูง ที่ใช้ในหญิงตั้งครรภ์ว่าสามารถใช้ยากลุ่ม B-blockได้หรือไม่
PICO
P : หญิงตั้งครรภ์ ที่มี GA มากกว่า 37 wk และมีความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ เป็นครั้งแรก
I : B-blocker
C : Hydralazine
O : สามารถลดความดันโลหิตสูง และลด morbidity and mortality
นศพ ไพรัช ศิริกุล
Assignment 1 by นศพ.ศุภโชค ก่อวิวัฒน์สกุล
Case 1 diagnosis
ไทยอายุ 45 ปีCC: คลำได้ก้อนที่เต้านมขวา 1 เดือนPTA
PI:1เดือนก่อนมารพ ผู้ป่วยคลำได้ก่อนที่บริเวณเต้านมขวา
ไม่มีอาการเจ็บปวดบริเวณเต้านม ไม่มีแผล ไม่มีน้ำหรือหนองไหลออกจากเต้านม
ไม่สัมพันธ์กับประจำเดือน ไม่มีแขนขาบวม ไม่พบก้อนบริเวณอื่นๆ
2วันก่อนมารพ ผู้ป่วยคลำได้ก้อนที่ตำแหน่งเดิมแต่รู้สึกว่ามีขนาดใหญ่ขึ้น จึงมารพ
PH:มีบุตรคนแรกหลังอายุ30ปี
no U/D
ไม่มีประวัติคนในครอบครัวเป็นโรคมะเร็งใดๆ
PE:
V/S BT=37 RR 18 PR 75 BP 110/75
GA:good consciousness
HEENT:not pale,no jaundice,no lymphadenopathy
lympnode : axillary,internal mammary node no enlargement
Heart & Lung: WNL
breast examination: normal shape ,no lesion,no discharge
no peau d' orange ,no erythematous ,no swelling
mass size 2*2 irregular at upper outer quandrant ,no margin, firm , fix, not tender, microlobulated mass
Abdomen: soft, not tender, normal bowel soundBI-RADS assessment: Categories 4 Suspecious
Imp Breast cancer
plan biopsy
Question:การตรวจหรือคัดกรองโดยใช้mammogram สามารถวินิจฉัยBreast cancerได้แม่นยำมากกว่าManual Breast examinationหรือไม่
P:ผู้ป่วยหญิงวัยกลางคนที่คลำได้ก้อนที่เต้านม
I:Mammogram with biopsy
c:Manual breast examination with biosy
o:การตรวจMammogramสามารถวินิจฉัยCA breastได้แม่นยำกว่า Manual Breast examination
Case 2 therapy
เด็กชายอายุ 3เดือน
cc:หายหอบเหนื่อย 1 day PTA
PI: 2Day PTA มีน้ำมูกไหล และไอเล็กน้อย มีไข้ต่ำๆ
1Day PTA มีน้ำมูกไหลมากขึ้น และไอมีเสมหะมากสีใส มีไข้สูง มีอาการหายใจเร็วและหอบเหนื่อย จึงมารพ
PH: no asthma
no u/d
PE
GA:crying
v/s BT 38 c RR=65 /min PR=140/min BP=85/70mmHg oxygen sat 96%
HEENT: not pale no jx. no pharyx injection
no tonsil enlargement no injected conjuntiva ,no lympnode enlargement
heart:WNL
Lung:subcostal retraction , wheezing both lung,no crepitation
abd:WNL
brundinski sign :negative
CFS: no wbc no rbc
CXR: brochial thickening .no patchy infiltration
CBC: no leukocytosis
Imp: acute bronchiolitis
Question:การทำchest physical therapy ร่วมกับให้ยากลุ่มmucolytic drug จะขับเสมหะได้ดีกว่า mucolytic drug อย่างเดียวหรือ ไม่
P:เด็กอายุ 3เดือน ที่DXว่าเป็น acute bronchiolitis และมีเสมหะมาก
I:chest physical therapy with Mucolytic drug
C:Mucolytic drug
O:การทำchest physical therapyร่วมกับmucolytic drugจะขับเสมหะได้ดีกว่า ให้mucolytic drug ในเด็ก
Assignment I โดย นศพ.จันทร์จิรา แต่ศักดาธรรม
Caseหญิงไทยอายุ 18 ปี G1P0 GA 4 wk
CC: มาด้วยอาการปวดท้องน้อยด้านขวามากมา 4 วันก่อนมา รพ.
PI: 4วันก่อนมา รพ.ผู้ป่วยมีอาการปวดท้องน้อยด้านขวามาก มีเลือดออกทางช่องคลอดใช้ผ้าอนามัยวันละ 3 แผ่นไม่ชุ่มไม่มีเศษเนื้อปนออกมา ไม่มีไข้ ไม่มีอาการคลื่นไส้อาเจียน ขับถ่ายปกติ ประจำเดือนขาดไป 1 เดือน มีเพศสัมพันธ์กับแฟนหนุ่ม เป็นประจำช่วงวันหยุด คุมกำเนิดโดยการใช้ยาคุมฉุกเฉิน ตรวจการตั้งครรภ์ที่ห้องฉุกเฉินให้ผลบวก ไม่ทราบว่าตนเองตั้งครรภ์ ไม่ได้เหน็บยา ไม่ได้ทำแท้งด้วยวิธีใดๆ
ตรวจร่างกายทั่วไป อยู่ในเกณฑ์ปกติ
แพทย์วินิจฉัยว่าเป็นการตั้งครรภ์นอกมดลูกและให้การรักษาด้วยยา(Metrotexate)
P: ectopic pregnancy
I:metrotexate
C:surgery
O:effectiveness
Question: การรักษาผู้ป่วยตั้งครรภ์นอกมดลูกด้วยการใช้ยาให้ผลการรักษามากน้อยเพียงใดเมื่อเทียบกับการผ่าตัดรักษา
CC: มาด้วยอาการปวดท้องน้อยด้านขวามากมา 4 วันก่อนมา รพ.
PI: 4วันก่อนมา รพ.ผู้ป่วยมีอาการปวดท้องน้อยด้านขวามาก มีเลือดออกทางช่องคลอดใช้ผ้าอนามัยวันละ 3 แผ่นไม่ชุ่มไม่มีเศษเนื้อปนออกมา ไม่มีไข้ ไม่มีอาการคลื่นไส้อาเจียน ขับถ่ายปกติ ประจำเดือนขาดไป 1 เดือน มีเพศสัมพันธ์กับแฟนหนุ่ม เป็นประจำช่วงวันหยุด คุมกำเนิดโดยการใช้ยาคุมฉุกเฉิน ตรวจการตั้งครรภ์ที่ห้องฉุกเฉินให้ผลบวก ไม่ทราบว่าตนเองตั้งครรภ์ ไม่ได้เหน็บยา ไม่ได้ทำแท้งด้วยวิธีใดๆ
ตรวจร่างกายทั่วไป อยู่ในเกณฑ์ปกติ
แพทย์วินิจฉัยว่าเป็นการตั้งครรภ์นอกมดลูกและให้การรักษาด้วยยา(Metrotexate)
P: ectopic pregnancy
I:metrotexate
C:surgery
O:effectiveness
Question: การรักษาผู้ป่วยตั้งครรภ์นอกมดลูกด้วยการใช้ยาให้ผลการรักษามากน้อยเพียงใดเมื่อเทียบกับการผ่าตัดรักษา
27/06/2009
assignment1 :therapy นศพ.มลทิรา
PP:ผู้ป่วยหญิงไทยค่ อายุ 22 ปี อาชีพ นักศึกษา
CC:มีเลือดออกทางช่องคลอดมา 5 hrs PTA
PI:7 day PTA ผู้ป่วยตรวจการตั้งครรภ์ เอง พบว่าตั้งครรภ์ ( LMP 15/3/52) ยังไม่ได้ฝากครรภ์
2 day pta มีอาการปวดท้องน้อยด้านซ้าย ปวดเป็นพักๆ กินยาแก้ปวดไม่ดีขึ้น มีคลื่นไส้ อาเจียรสองครั้ง
5 hrs PTA มีเลือดออกทางช่องคลอด ลักษณะเลือดสีคล้ำ ไม่มีลักษณะถุงชิ้นเนื้อ ใช้ผ้าอนามัย 2 pad ไม่ชุ่ม จึงมา รพ.
PH: G2P0A1
GA 9+ wks by LMP
no U/D
ปฏิเสธประวัติผ่าตัด เคยขูดมดลูกเมื่อ 1 ปีก่อน ( Incomplete abortion)
PE : V/S normal
GA: good conciousness
HEENT:not pale, no jaundice , no lymphadenopathy
Lungs:clear both sides
Heart:normal s1s2, no murmur
Abdomen: uterus FH ~ 1/3 > PS
PV: NIUB: normal
vg: bloody and clot
cervix: 1FT, bloody per os
adnexa: tenderness at lt. adnexa
UT: 10 wks size
cal de sac: not tenderness
U/S: พบ mix echoic mass บริเวณ left adnexa 2 x 2 cm
no fluid, no intra uterine gestational sac
DX: Ectopic pregnancy
เนื่องจากผู้ป่วย clinical stable และ ไม่มี bleeding แล้ว และ size ไม่เกิน 3.5 cm อาจารย์จึงให้ MTX เป็น single doseและนัด F/U อีก 1 wks
จึงสงสัยว่า การให้ MTX ในผู้ป่วยรายนี้มีประสิทธิภาพมากแค่ไหน เมื่อเทียบกับ การผ่าตัด
P: Ectopic pregnant women that size < 3.5 cm.
I: การให้ MTX single dose
C:การผ่าตัด
O:โอกาสการเกิด persistant ectopic pregnancy
โดย นศพ.มลทิรา เมืองผุด 4825114
CC:มีเลือดออกทางช่องคลอดมา 5 hrs PTA
PI:7 day PTA ผู้ป่วยตรวจการตั้งครรภ์ เอง พบว่าตั้งครรภ์ ( LMP 15/3/52) ยังไม่ได้ฝากครรภ์
2 day pta มีอาการปวดท้องน้อยด้านซ้าย ปวดเป็นพักๆ กินยาแก้ปวดไม่ดีขึ้น มีคลื่นไส้ อาเจียรสองครั้ง
5 hrs PTA มีเลือดออกทางช่องคลอด ลักษณะเลือดสีคล้ำ ไม่มีลักษณะถุงชิ้นเนื้อ ใช้ผ้าอนามัย 2 pad ไม่ชุ่ม จึงมา รพ.
PH: G2P0A1
GA 9+ wks by LMP
no U/D
ปฏิเสธประวัติผ่าตัด เคยขูดมดลูกเมื่อ 1 ปีก่อน ( Incomplete abortion)
PE : V/S normal
GA: good conciousness
HEENT:not pale, no jaundice , no lymphadenopathy
Lungs:clear both sides
Heart:normal s1s2, no murmur
Abdomen: uterus FH ~ 1/3 > PS
PV: NIUB: normal
vg: bloody and clot
cervix: 1FT, bloody per os
adnexa: tenderness at lt. adnexa
UT: 10 wks size
cal de sac: not tenderness
U/S: พบ mix echoic mass บริเวณ left adnexa 2 x 2 cm
no fluid, no intra uterine gestational sac
DX: Ectopic pregnancy
เนื่องจากผู้ป่วย clinical stable และ ไม่มี bleeding แล้ว และ size ไม่เกิน 3.5 cm อาจารย์จึงให้ MTX เป็น single doseและนัด F/U อีก 1 wks
จึงสงสัยว่า การให้ MTX ในผู้ป่วยรายนี้มีประสิทธิภาพมากแค่ไหน เมื่อเทียบกับ การผ่าตัด
P: Ectopic pregnant women that size < 3.5 cm.
I: การให้ MTX single dose
C:การผ่าตัด
O:โอกาสการเกิด persistant ectopic pregnancy
โดย นศพ.มลทิรา เมืองผุด 4825114
assigment 1/2 โดย นักศึกษาแพทย์ธนทรัพย์ รักขิโต
case 1/2
Pt profile :ชายไทยคู่ อายุ 28 ปี อาชีพช่างกลึง
Chieft complaint : ปวดแสบตาสองข้าง 5 ชม ก่อนมาโรงพยาบาล
Present illness : เมื่อเช้าออกไปทำงานเชื่อมเหล็ก เนื่องจากไม่ได้ใช่โล่กันแสงเพราะเพื่อนร่วมงานยืมไปและตนเองไม่ค่อยถนัด จึงอ๊อกเหล็กโดยไม่ใช้โล่
5 ชม ก่อนมาโรงพยาบาลสังเกตว่าตนเองมีอาการปวดตา แสบตา ระคายเคืองเหมือนมีเม็ดทรายเข้าตาตลอดเวลา น้ำตาเริ่มไหลมากขึ้นเรื่อยๆ ลืมตาไม่ค่อยได้ เย็นนี้หลังกลับไปบ้าน เริ่มสังเกตว่าตาข้างขวาบวมมากขึ้น จึงมาห้องฉุกเฉินของโรงพยาบาลชุมชน ในเวลาค่ำ
Past history : ไม่มีโรคประจำตัว ไม่แพ้ยาแพ้อาหาร ไม่ใช้ยาใดเป็นประจำ สูบบุหรี่วันละ 5 มวน เริ่มสูบเมื่ออายุ20 ปี ดื่มเหล้าเดือนละครั้ง ดื่มมานาน 1 ปี ไม่เคยได้รับอุบัติเหตุใดๆมาก่อน
Physical examination :
GA:good conciousness, not pale, no jaundice
v/s : BT 37.0,RR 18 times/min,PR 78 times/min,BP 120/78 mmHg
eyes : lid rt;mild oedema >lt
rash normal direction both
conjunctival mild to moderate injected,no foreign body
corneal irritable of corneal light reflex boths eyes,cilialy injected
lens clear,no opacity
EOM full range of motion
VA 20/20 both eyes
others WNL
Diagnosis : ultraviolet keratitis
Treatment :
1.irrigation
2.antibiotic ointment:terramycin eye ointment
3.paracetamol (500 mg) 2 tap po,PRN for pain
4.pressure patch 24 hr
5.follow up tomorrow 19.30 pm
Question: การทำpressure patch สามารถรถระยะของการ ultraviolet keratitis ให้เร็วขึ้นได้หรือไม่ ?
P : patient with clinical ultraviolet keratitis
I : pressure patch
C :no pressure patch
O: decrease duration of ultraviolet keratitis
Pt profile :ชายไทยคู่ อายุ 28 ปี อาชีพช่างกลึง
Chieft complaint : ปวดแสบตาสองข้าง 5 ชม ก่อนมาโรงพยาบาล
Present illness : เมื่อเช้าออกไปทำงานเชื่อมเหล็ก เนื่องจากไม่ได้ใช่โล่กันแสงเพราะเพื่อนร่วมงานยืมไปและตนเองไม่ค่อยถนัด จึงอ๊อกเหล็กโดยไม่ใช้โล่
5 ชม ก่อนมาโรงพยาบาลสังเกตว่าตนเองมีอาการปวดตา แสบตา ระคายเคืองเหมือนมีเม็ดทรายเข้าตาตลอดเวลา น้ำตาเริ่มไหลมากขึ้นเรื่อยๆ ลืมตาไม่ค่อยได้ เย็นนี้หลังกลับไปบ้าน เริ่มสังเกตว่าตาข้างขวาบวมมากขึ้น จึงมาห้องฉุกเฉินของโรงพยาบาลชุมชน ในเวลาค่ำ
Past history : ไม่มีโรคประจำตัว ไม่แพ้ยาแพ้อาหาร ไม่ใช้ยาใดเป็นประจำ สูบบุหรี่วันละ 5 มวน เริ่มสูบเมื่ออายุ20 ปี ดื่มเหล้าเดือนละครั้ง ดื่มมานาน 1 ปี ไม่เคยได้รับอุบัติเหตุใดๆมาก่อน
Physical examination :
GA:good conciousness, not pale, no jaundice
v/s : BT 37.0,RR 18 times/min,PR 78 times/min,BP 120/78 mmHg
eyes : lid rt;mild oedema >lt
rash normal direction both
conjunctival mild to moderate injected,no foreign body
corneal irritable of corneal light reflex boths eyes,cilialy injected
lens clear,no opacity
EOM full range of motion
VA 20/20 both eyes
others WNL
Diagnosis : ultraviolet keratitis
Treatment :
1.irrigation
2.antibiotic ointment:terramycin eye ointment
3.paracetamol (500 mg) 2 tap po,PRN for pain
4.pressure patch 24 hr
5.follow up tomorrow 19.30 pm
Question: การทำpressure patch สามารถรถระยะของการ ultraviolet keratitis ให้เร็วขึ้นได้หรือไม่ ?
P : patient with clinical ultraviolet keratitis
I : pressure patch
C :no pressure patch
O: decrease duration of ultraviolet keratitis
assignment 1 therapy โดย นศพ. ชนิดา เพ็ชรศรี
PP: เด็กหญิงไทยอายุ 1 ปี ภูมิลำเนา อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา
CC:ไข้สูงมา 4 วัน
PI: 4 วัน PTA อาการเริ่มด้วยมีไข้ น้ำมูกไหล ไอ ตาแดง ตาแฉะ
3 วัน PTA พบจุดขาวๆ เล็กๆ มีขอบสีแดงๆ อยู่ในกระพุ้งแก้ม
1วัน PTA ผื่นขึ้นลักษณะผื่นนูนแดง ติดกันเป็นปื้นๆ โดยจะขึ้นที่หน้า บริเวณชิดขอบผม
แล้วแผ่กระจายไปตามลำตัว แขน ขา
PE:
GA : Good conciousness, look sick
HEENT : Not pale, no icteric sclera,pharynx mild injected
Koplik’s spots at mucosal buccal
Heart : Normal S1 S2 , no murmur
Lung : Clear Both Lung, Rt = Lt
Abdomen : Soft, not tender, no mass, normoactive bowel sound
Extremity: maculo-papular rash at all extremity, trunk and face
คำถาม : การให้ vitamin A ในเด็กที่เป็น measles ที่มีอายุต่ำกว่า 2 ปี สามารถป้องกันการเกิด pneumonia ได้หรือไม่
P : เด๋กอายุต่ำกว่า 2 ปี ที่เป็น measles
I : vitamin A
C : placibo
O : การป้องกัน pneumonia
CC:ไข้สูงมา 4 วัน
PI: 4 วัน PTA อาการเริ่มด้วยมีไข้ น้ำมูกไหล ไอ ตาแดง ตาแฉะ
3 วัน PTA พบจุดขาวๆ เล็กๆ มีขอบสีแดงๆ อยู่ในกระพุ้งแก้ม
1วัน PTA ผื่นขึ้นลักษณะผื่นนูนแดง ติดกันเป็นปื้นๆ โดยจะขึ้นที่หน้า บริเวณชิดขอบผม
แล้วแผ่กระจายไปตามลำตัว แขน ขา
PE:
GA : Good conciousness, look sick
HEENT : Not pale, no icteric sclera,pharynx mild injected
Koplik’s spots at mucosal buccal
Heart : Normal S1 S2 , no murmur
Lung : Clear Both Lung, Rt = Lt
Abdomen : Soft, not tender, no mass, normoactive bowel sound
Extremity: maculo-papular rash at all extremity, trunk and face
คำถาม : การให้ vitamin A ในเด็กที่เป็น measles ที่มีอายุต่ำกว่า 2 ปี สามารถป้องกันการเกิด pneumonia ได้หรือไม่
P : เด๋กอายุต่ำกว่า 2 ปี ที่เป็น measles
I : vitamin A
C : placibo
O : การป้องกัน pneumonia
diagnosis โดย นศพ.วิรยุทธ สนธิเมือง
case หญิงไทยคู่อายุ 25ปี G1P0 GA 24 wks by LMP
CC:มาตามนัด ANC
PI: ประจำดือนครั้งสุดท้ายเมื่อวันที่ 28 มกราคม 2552
GA 9 wk รู้สึกว่าประจำเดือนไม่มามา2เดือนจึงไปซื้อแผ่นทดสอบการตั้งครรภ์ผลเป็นบวก
GA 12 wk ได้มาฝากครรรภ์ที่โรงพยาบาลหาดใหญ่ แพทย์ได้ให้ยาบำรุงโลหิต และได้ตรวจเลือด
GA 18 wk เริ่มได้ยินเสียงหัวใจเด็ก และเริ่มดิ้นตอนอายุครรภ์ 5เดือน
วันนีแพทย์มานัดANC
PH: ไม่มีประวัติโรคประจำตัวและประวัติผ่าตัด
ปฏิเสธโรคทางพันธุกรรม
OB and Gyne: ประจำเดือนมาครั้งแรกตอนอายุ 15 ปี หลังจากนั้น ประจำเดือนมาสม่ำเสมอ interval 30 วัน duration 5 วัน วั้นละ 4แผ่นผ้าอนามัย ประจำเดือนครั้งสุดท้ายวันที่ 28 มกราคม 2552
ไม่มีการคุมกำเนิด ปฏิเสธประวัติโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ประวัติANC มาฝากครรภ์ครั้งแรกตอนอายุครรภ์2 เดือนได้รับยาบำรุงโลหิตและตรวจเลือด
มาตามนัดทุกครั้ง รวมจำนวนครั้งที่3 ครั้ง
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ Hct 38%, VDRL: non reactive,anti-HIV :negative,HBs antigen:negative DCIP :negative
PE: BT 36.8 C ,BP 110/80mmHg ,PR 80bpm RR20/min
BW:60 kgs Height 168 cm
HEENT: not pale conjuntiva
Heart : normal S1S2 ,no mumur
lung:clear both lung
abdomen: FH:1/4 above umbilicus (22 cm) ,vertex presentation , position : OL ,FHS :140 bpm
Ext: no edema
จากการตรวจพบว่า fundal height มีความยาว 22cm ซึ่งจะแสดงว่าผู้ป่วยมีอายุครรภ์ 22 สัปดาห์ ซึ่งไม่ตรงกับผู้ป่วยรายนี้ จึงเกิดควาสงสัยว่าการวัดFundal height ที่มีหน่วยเป็นเซนติเมตร มีความแม่นยำในการตรวจอายุครรภ์เพียงใด
P:prenancy with GA 24 wk
I:วัด fundal height เป็น เซนติเมตร
C:ultrsound
O:ความเม่นยำในการบอกGA
CC:มาตามนัด ANC
PI: ประจำดือนครั้งสุดท้ายเมื่อวันที่ 28 มกราคม 2552
GA 9 wk รู้สึกว่าประจำเดือนไม่มามา2เดือนจึงไปซื้อแผ่นทดสอบการตั้งครรภ์ผลเป็นบวก
GA 12 wk ได้มาฝากครรรภ์ที่โรงพยาบาลหาดใหญ่ แพทย์ได้ให้ยาบำรุงโลหิต และได้ตรวจเลือด
GA 18 wk เริ่มได้ยินเสียงหัวใจเด็ก และเริ่มดิ้นตอนอายุครรภ์ 5เดือน
วันนีแพทย์มานัดANC
PH: ไม่มีประวัติโรคประจำตัวและประวัติผ่าตัด
ปฏิเสธโรคทางพันธุกรรม
OB and Gyne: ประจำเดือนมาครั้งแรกตอนอายุ 15 ปี หลังจากนั้น ประจำเดือนมาสม่ำเสมอ interval 30 วัน duration 5 วัน วั้นละ 4แผ่นผ้าอนามัย ประจำเดือนครั้งสุดท้ายวันที่ 28 มกราคม 2552
ไม่มีการคุมกำเนิด ปฏิเสธประวัติโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ประวัติANC มาฝากครรภ์ครั้งแรกตอนอายุครรภ์2 เดือนได้รับยาบำรุงโลหิตและตรวจเลือด
มาตามนัดทุกครั้ง รวมจำนวนครั้งที่3 ครั้ง
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ Hct 38%, VDRL: non reactive,anti-HIV :negative,HBs antigen:negative DCIP :negative
PE: BT 36.8 C ,BP 110/80mmHg ,PR 80bpm RR20/min
BW:60 kgs Height 168 cm
HEENT: not pale conjuntiva
Heart : normal S1S2 ,no mumur
lung:clear both lung
abdomen: FH:1/4 above umbilicus (22 cm) ,vertex presentation , position : OL ,FHS :140 bpm
Ext: no edema
จากการตรวจพบว่า fundal height มีความยาว 22cm ซึ่งจะแสดงว่าผู้ป่วยมีอายุครรภ์ 22 สัปดาห์ ซึ่งไม่ตรงกับผู้ป่วยรายนี้ จึงเกิดควาสงสัยว่าการวัดFundal height ที่มีหน่วยเป็นเซนติเมตร มีความแม่นยำในการตรวจอายุครรภ์เพียงใด
P:prenancy with GA 24 wk
I:วัด fundal height เป็น เซนติเมตร
C:ultrsound
O:ความเม่นยำในการบอกGA
Therapy by นศพ.กิติกร จันทร์ศิริ
CC: ไข้สูง 5 วัน
PI: เ ด็กชายอายุ 2 ปี มีไข้สูงมา 5 วัน มีผื่นแดงตามลำตัว ตาแดง มีผื่นแดงตามลำตัว คุณแม่พาไปพบแพทย์ตั้งแต่เป็นไข้วันแรก แพทย์บอกว่าคอแดงเล็กน้อยได้ยาลดไข้และยาแก้อักเสบมากิน ผ่านมา 5 วันลูกยังมีไข้สูง คุณแม่สังเกตุเห็นมีผื่นแดงตามตัว ตาแดง จึงพามาพบกุมารแพทย์ที่โรงพยาบาล
PE: ผลการตรวจร่างกายพบว่า เด็กมีไข้ 39 องศาเซนเซียส ตาแดง มีผื่นแดงตามลำตัว อ้าปากพบลิ้นสีแดงมาก ริมฝีปากแดงและมีต่อมน้ำเหลืองโต
v/s Temp 39 C pulse 100/min RR 40/min BP 110/90mmHg
HEENT mark red conjunctiva with whitish discharge , strawberry tongue, cervical lymph node enlargement
Heart: normal s1,s2 no murmur
Lung: clear both luns no crepitation no wheezing
Abd : soft not tender no guarding erythematous rash on trunk
Ext : erythematous papulomacular rash on both arms
แพทย์ให้การวินิจฉัยว่าเป็น Kawasaki disease
ให้การรักษาโดย IVIG 400 mg/kg/day + aspirin
P: ผู้ป่วยเด็ก ที่วินิจฉัยว่าเป็นKawasaki disease
I:IVIG+ASA
C:IVIG only
O:reduce coronary anerurysm
อยากทราบว่าการให้ASAร่วมด้วยในการรักษาจะช่วยลดการเกิด coronary aneurysm ในผู้ป่วยkawasakiได้มากน้อยแค่ไหนเมื่อเทียบกับการให้ IVIGเพียงอย่างเดียว
PI: เ ด็กชายอายุ 2 ปี มีไข้สูงมา 5 วัน มีผื่นแดงตามลำตัว ตาแดง มีผื่นแดงตามลำตัว คุณแม่พาไปพบแพทย์ตั้งแต่เป็นไข้วันแรก แพทย์บอกว่าคอแดงเล็กน้อยได้ยาลดไข้และยาแก้อักเสบมากิน ผ่านมา 5 วันลูกยังมีไข้สูง คุณแม่สังเกตุเห็นมีผื่นแดงตามตัว ตาแดง จึงพามาพบกุมารแพทย์ที่โรงพยาบาล
PE: ผลการตรวจร่างกายพบว่า เด็กมีไข้ 39 องศาเซนเซียส ตาแดง มีผื่นแดงตามลำตัว อ้าปากพบลิ้นสีแดงมาก ริมฝีปากแดงและมีต่อมน้ำเหลืองโต
v/s Temp 39 C pulse 100/min RR 40/min BP 110/90mmHg
HEENT mark red conjunctiva with whitish discharge , strawberry tongue, cervical lymph node enlargement
Heart: normal s1,s2 no murmur
Lung: clear both luns no crepitation no wheezing
Abd : soft not tender no guarding erythematous rash on trunk
Ext : erythematous papulomacular rash on both arms
แพทย์ให้การวินิจฉัยว่าเป็น Kawasaki disease
ให้การรักษาโดย IVIG 400 mg/kg/day + aspirin
P: ผู้ป่วยเด็ก ที่วินิจฉัยว่าเป็นKawasaki disease
I:IVIG+ASA
C:IVIG only
O:reduce coronary anerurysm
อยากทราบว่าการให้ASAร่วมด้วยในการรักษาจะช่วยลดการเกิด coronary aneurysm ในผู้ป่วยkawasakiได้มากน้อยแค่ไหนเมื่อเทียบกับการให้ IVIGเพียงอย่างเดียว
Assignment 1 : Therapy By นศพ.สุนันทิกา จิตวารินทร์
PP:ผู้ป่วยชายไทยคู่ อายุ 60 ปี อาชีพ ทำสวนยางพารา
CC:ตรวจร่างกายประจำปี พบก้อนเนื้องอกบริเวณลำไส้ตรง
PI:มารับการตรวจร่างกายประจำปี แพทย์พบว่ามีก้อนบริเวณ 7ซม.ห่างจากรูก้น
ขนาด 3*2 ซม. ไม่มีถ่ายอุจจาระปนมูกเลือด ไม่มี bowel habit change ไม่มีนำ้หนักลด
ไม่มีอาการเบื่ออาหาร
PH:ปฏิเสธประวัติโรคประจำตัว , ปฏิเสธประวัติแพ้ยา-แพ้อาหาร
PE:GA:Thai man good conciousness
HEENT:mild pale, no jaundice , no lymphadenopathy
Lungs:clear both sides
Heart:normal s1s2, no murmur
Abdomen: no mass,no hepatosplenomegaly
Groin:no lymphadenopathy
Ext.:no deformity , full of motion
PR: sessile mass 3*2 cm. on 7 cm.above analvert ,normal color of fecae
Barium enema: sessile mass 3*2 cm. at lower rectum , no others mass.
Endorectal ultrasound: tumor deep to muscular mucosa
ศัลยแพทย์พูดคุยถึงการรักษากับผู้ป่วยและแนะนำให้ทำการผ่าตัดโดยวิธี submucosal
resection
จาก case ดังกล่าวนี้จึงทำให้ข้าพเจ้าสงสัยว่าการผ่าตัดวิธีนี้ได้ผลดีเทียบเท่ากับวิธีมาตรฐาน คือ Abdominoperineal resection หรือไม่
P: ชายไทยอายุ 60 ปีมี sessile mass บริเวณ rectum
I: การผ่าตัดโดยวิธี submucosal resection
C:การผ่าตัดโดยวิธี Abdominoperineal resection
O:survival rate and recurrent rate
โดย นศพ.สุนันทิกา จิตวารินทร์
CC:ตรวจร่างกายประจำปี พบก้อนเนื้องอกบริเวณลำไส้ตรง
PI:มารับการตรวจร่างกายประจำปี แพทย์พบว่ามีก้อนบริเวณ 7ซม.ห่างจากรูก้น
ขนาด 3*2 ซม. ไม่มีถ่ายอุจจาระปนมูกเลือด ไม่มี bowel habit change ไม่มีนำ้หนักลด
ไม่มีอาการเบื่ออาหาร
PH:ปฏิเสธประวัติโรคประจำตัว , ปฏิเสธประวัติแพ้ยา-แพ้อาหาร
PE:GA:Thai man good conciousness
HEENT:mild pale, no jaundice , no lymphadenopathy
Lungs:clear both sides
Heart:normal s1s2, no murmur
Abdomen: no mass,no hepatosplenomegaly
Groin:no lymphadenopathy
Ext.:no deformity , full of motion
PR: sessile mass 3*2 cm. on 7 cm.above analvert ,normal color of fecae
Barium enema: sessile mass 3*2 cm. at lower rectum , no others mass.
Endorectal ultrasound: tumor deep to muscular mucosa
ศัลยแพทย์พูดคุยถึงการรักษากับผู้ป่วยและแนะนำให้ทำการผ่าตัดโดยวิธี submucosal
resection
จาก case ดังกล่าวนี้จึงทำให้ข้าพเจ้าสงสัยว่าการผ่าตัดวิธีนี้ได้ผลดีเทียบเท่ากับวิธีมาตรฐาน คือ Abdominoperineal resection
P: ชายไทยอายุ 60 ปีมี sessile mass บริเวณ rectum
I: การผ่าตัดโดยวิธี submucosal resection
C:การผ่าตัดโดยวิธี Abdominoperineal resection
O:survival rate and recurrent rate
โดย นศพ.สุนันทิกา จิตวารินทร์
Assignment 1 (นศพ.ธิดารัตน์ โกมล)
Case 1 (Thearapy)
เด็กชายไทยอายุ 10 ปี
CC: มีไข้สูง 1 วัน ก่อนมาโรงพยาบาล
PI: 2 วัน ก่อนมาโรงพยาบาล มีไข้สูง ไม่มี URI and GI symptom ไม่มีอาการปัสสาวะแสบขัดหรือปวดบริเวณบั้นเอว ยังพอทานอาหารได้ กินยาลดไข้และเช็ดตัวลดไข้แล้วอาการไข้ก็ลดลงบ้างเป็นช่วงๆ
วันนี้ ยังคงมีไข้สูงมาก และมีอาการชักเกร็งกระตุกทั่วร่างกาย อาการชักเป็นอยู่ประมาณ 1 นาที มารดาจึงพามาโรงพยาบาล
PH: ปฏิเสธโรคประจำตัวใดๆ
ก่อนหน้านี้สุขภาพแข็งแรงดีมาโดยตลอด
ได้รับ vaccine ครบตามเกณฑ์
PE: Febrile (BT 39 C)
HEENT: not pale, no icteric sclera, moderate dry lips, look ill
Heart & Lung: WNL
Abdomen: soft, not tender, normal bowel sound
Stiffness of neck: positive
ส่งตรวจ CSF profile ได้ผลเป็น Bacterial Meningitis
ได้รับการวินิจฉัยเป็น Bacterial Meningitis และได้รับการรักษาด้วย Antibiotic ที่ครอบคลุมเชื้อสาเหตุ และมีการให้ Dexamethason เพื่อป้องกันการเกิด Neurological complication
Question: : Dexamethasone สามารถป้องกันการเกิด Neurological complication ในผู้ป่วยเด็กที่เป็น
Bacterial Meningitis ได้จริงหรือไม่
P : ผู้ป่วยเด็กที่ได้รับการวินิจฉัยเป็น Bacterial Meningitis
I : Dexamethason
C : Placebo
O : Dexamethasone สามารถป้องกันการเกิด Neurological complication ในผู้ป่วยเด็กที่เป็น
Bacterial Meningitis ได้
Case 2 (Prognosis)
ชายไทยคู่อายุ 60 ปี
CC: อุจจาระมีเลือดปนมา 1 เดือน ก่อนมาโรงพยาบาล
PI: 1 เดือน ก่อนมาโรงพยาบาล อุจจาระมีเลือดปน เป็นเลือดที่เคลือบก้อนอุจจาระ บางครั้งมีเลือดสดปนออกมาด้วย ไม่มีก้อนโผล่เข้าโผล่ออกบริเวณรูทวาร และคลำไม่ได้ก้อนบริเวณหน้าท้องมาก้อน มีอาการปวดท้องบ้างเป็นบางครั้ง ทานอาหารได้น้อยลง รู้สึกว่าน้ำหนักลดลง
วันนี้มีเลือดปนออกมากับอุจจาระมมากขึ้น จึงมาพบแพทย์ที่โรงพยาบาล
PH: ปฏิเสธโรคประจำตัวใดๆ
ปฏิเสธการใช้ยาใดๆเป็นประจำ
สูบบุหรี่วันละ 1 ซอง
ชอบทานเนื้อสัตว์
PE: low grade fever (BT 37.6 C)
HEENT: not pale, no icteric sclera , not dry lips
Heart & Lung: WNL
Abdomen: just palpaber mass at LLQ, not tender, active bowel sound
PR: normal
ส่งตรวจ colonoscope and biopsy ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็น CA colon stage 3 ได้รับการรักษาโดยการผ่าตัดและได้ chemotherapy จนครบ
Question: : 5 years survival and quality of life ของผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็น CA colon stage 3 หลังได้รับการรักษาโดยการผ่าตัดและได้รับ chemotherapy เป็นอย่างไร
P : ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยเป็น CA colon stage 3 และได้รับการรักษาโดยการผ่าตัด
และได้ chemotherapy จนครบ
I : time
C : -
O : 5 years survival and quality of life หลังได้รับการรักษา
เด็กชายไทยอายุ 10 ปี
CC: มีไข้สูง 1 วัน ก่อนมาโรงพยาบาล
PI: 2 วัน ก่อนมาโรงพยาบาล มีไข้สูง ไม่มี URI and GI symptom ไม่มีอาการปัสสาวะแสบขัดหรือปวดบริเวณบั้นเอว ยังพอทานอาหารได้ กินยาลดไข้และเช็ดตัวลดไข้แล้วอาการไข้ก็ลดลงบ้างเป็นช่วงๆ
วันนี้ ยังคงมีไข้สูงมาก และมีอาการชักเกร็งกระตุกทั่วร่างกาย อาการชักเป็นอยู่ประมาณ 1 นาที มารดาจึงพามาโรงพยาบาล
PH: ปฏิเสธโรคประจำตัวใดๆ
ก่อนหน้านี้สุขภาพแข็งแรงดีมาโดยตลอด
ได้รับ vaccine ครบตามเกณฑ์
PE: Febrile (BT 39 C)
HEENT: not pale, no icteric sclera, moderate dry lips, look ill
Heart & Lung: WNL
Abdomen: soft, not tender, normal bowel sound
Stiffness of neck: positive
ส่งตรวจ CSF profile ได้ผลเป็น Bacterial Meningitis
ได้รับการวินิจฉัยเป็น Bacterial Meningitis และได้รับการรักษาด้วย Antibiotic ที่ครอบคลุมเชื้อสาเหตุ และมีการให้ Dexamethason เพื่อป้องกันการเกิด Neurological complication
Question: : Dexamethasone สามารถป้องกันการเกิด Neurological complication ในผู้ป่วยเด็กที่เป็น
Bacterial Meningitis ได้จริงหรือไม่
P : ผู้ป่วยเด็กที่ได้รับการวินิจฉัยเป็น Bacterial Meningitis
I : Dexamethason
C : Placebo
O : Dexamethasone สามารถป้องกันการเกิด Neurological complication ในผู้ป่วยเด็กที่เป็น
Bacterial Meningitis ได้
Case 2 (Prognosis)
ชายไทยคู่อายุ 60 ปี
CC: อุจจาระมีเลือดปนมา 1 เดือน ก่อนมาโรงพยาบาล
PI: 1 เดือน ก่อนมาโรงพยาบาล อุจจาระมีเลือดปน เป็นเลือดที่เคลือบก้อนอุจจาระ บางครั้งมีเลือดสดปนออกมาด้วย ไม่มีก้อนโผล่เข้าโผล่ออกบริเวณรูทวาร และคลำไม่ได้ก้อนบริเวณหน้าท้องมาก้อน มีอาการปวดท้องบ้างเป็นบางครั้ง ทานอาหารได้น้อยลง รู้สึกว่าน้ำหนักลดลง
วันนี้มีเลือดปนออกมากับอุจจาระมมากขึ้น จึงมาพบแพทย์ที่โรงพยาบาล
PH: ปฏิเสธโรคประจำตัวใดๆ
ปฏิเสธการใช้ยาใดๆเป็นประจำ
สูบบุหรี่วันละ 1 ซอง
ชอบทานเนื้อสัตว์
PE: low grade fever (BT 37.6 C)
HEENT: not pale, no icteric sclera , not dry lips
Heart & Lung: WNL
Abdomen: just palpaber mass at LLQ, not tender, active bowel sound
PR: normal
ส่งตรวจ colonoscope and biopsy ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็น CA colon stage 3 ได้รับการรักษาโดยการผ่าตัดและได้ chemotherapy จนครบ
Question: : 5 years survival and quality of life ของผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็น CA colon stage 3 หลังได้รับการรักษาโดยการผ่าตัดและได้รับ chemotherapy เป็นอย่างไร
P : ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยเป็น CA colon stage 3 และได้รับการรักษาโดยการผ่าตัด
และได้ chemotherapy จนครบ
I : time
C : -
O : 5 years survival and quality of life หลังได้รับการรักษา
Assignment 1 (therapy) นศพ.ปริญญา รัตนพงศ์
หญิงไทยโสด อายุ 22 ปี อาชีพ นักศึกษา
CC: เป็นสิวมากขึ้นมา 1 เดือน
PI: 1 เดือนก่อนมาโรงพยาบาล มีสิวเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะสิวอุดตันบริเวณหน้าผาก และ 2 ข้างแก้มรวมมากกว่า 40 แห่ง อีกทั้งยังมีสิวหัวหนองประมาณ 10 เม็ด ผู้ป่วยมีลักษณะผิวแพ้ง่าย เวลาอากาศร้อนๆ มักมีสิวผดขึ้น แต่ไม่มีผื่นแพ้แสงแดด ไม่มีผมร่วง ปัสสาวะปกติดี ไม่เคยได้รับการรักษาใดๆ มาก่อน จึงมาโรงพยาบาล
PH: ปฏิเสธประวัติโรคประจำตัวใดๆ
ปฏิเสธประวัติแพ้ยาแพ้อาหาร
ปฏิเสธการใช้ยาใดเป็นประจำ
FH: ปฏิเสธประวัติโรคทางพันธุกรรม
Review of system: normal
PE: vital signs : normal
Heart&lung : within normal limit
Abdomen : Soft, not tender.
Others : WNL
Question? : การใช้ยา Adapalene gel 0.1% เป็นวิธีการรักษาที่ได้ผลการรักษาดีกว่าการใช้ยา Isotretinoin gel 0.05% หรือไม่
P : หญิงไทย 22 ปี เป็นacne vulgaris
I : Adapalene gel 0.1%
C : Isotretinoin gel 0.05%
O : Adapalene gel 0.1% is better than Isotretinoin gel 0.05%
CC: เป็นสิวมากขึ้นมา 1 เดือน
PI: 1 เดือนก่อนมาโรงพยาบาล มีสิวเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะสิวอุดตันบริเวณหน้าผาก และ 2 ข้างแก้มรวมมากกว่า 40 แห่ง อีกทั้งยังมีสิวหัวหนองประมาณ 10 เม็ด ผู้ป่วยมีลักษณะผิวแพ้ง่าย เวลาอากาศร้อนๆ มักมีสิวผดขึ้น แต่ไม่มีผื่นแพ้แสงแดด ไม่มีผมร่วง ปัสสาวะปกติดี ไม่เคยได้รับการรักษาใดๆ มาก่อน จึงมาโรงพยาบาล
PH: ปฏิเสธประวัติโรคประจำตัวใดๆ
ปฏิเสธประวัติแพ้ยาแพ้อาหาร
ปฏิเสธการใช้ยาใดเป็นประจำ
FH: ปฏิเสธประวัติโรคทางพันธุกรรม
Review of system: normal
PE: vital signs : normal
Heart&lung : within normal limit
Abdomen : Soft, not tender.
Others : WNL
Question? : การใช้ยา Adapalene gel 0.1% เป็นวิธีการรักษาที่ได้ผลการรักษาดีกว่าการใช้ยา Isotretinoin gel 0.05% หรือไม่
P : หญิงไทย 22 ปี เป็นacne vulgaris
I : Adapalene gel 0.1%
C : Isotretinoin gel 0.05%
O : Adapalene gel 0.1% is better than Isotretinoin gel 0.05%
assignment 1 diagnosis โดย นศพ นพวรรณ แสงแก้ว
ชายไทยคู่ อายุ 48 ปี
CC: ไอ มา 2 ปี
PI: 2 ปีก่อน มารพ. ไอ เป็นๆหายๆ มีเสมหะสีขาว เหนียว ไอมากจนเจ็บหน้าอก ไม่เคยหอบ ช่วงหลังรู้สึกว่า จะไอมากขึ้น เวลาไอมากจะนอนราบไม่ได้ ไม่มีอาการบวม ไปรักษาที่คลินิกและรพ.หลายแห่ง ได้ยาแก้ไอมารับประทาน อาการไอน้อยลง
1 เดือนก่อนมารพ. ไอมากขึ้น ไอมากจนรู้สึกเจ็บชายโครง มีเสมหะสีขาวๆ ไม่มีไข้ ไม่มีน้ำหนักลด ได้รับประทานยาแก้ไอ อาการไม่ดีขึ้น จึงมารพ.
PH: ปฏิเสธโรคประจำตัว
ปฏิเสธการแพ้ยา แพ้อาหาร
สูบบุหรี่วันละ ครึ่งซอง มานาน 25 ปี เลิกสูบได้ ครึ่งปี
Family History: ไม่มีประวัติโรคติดต่อทางกรรมพันธุ์
มีหลานชายอายุ 12 ปี เป็นโรคหอบหืด
PE: GA – good conscious, not pale, looked fatigue
HEENT: cervical lymph node not palpable, pharynx& tonsil not injected
Cardiovascular: normal s1 s2, no murmur
Respiratory: prolong expiration, uses accessory muscles, normal breath sound
Abdomen; soft, not tender, liver & spleen cannot palpable
Investigation:
CBC- WNL
CXR- Hyper aeration, wide ICS, normal heart size
แพทย์ Dx COPD
Q: ผู้ป่วยที่มีอาการไอเรื้อรัง ร่วมกับประวัติสูบบุรี่ สามารถใช้ ประวัติ และการตรวจ CXR ในการวินิจฉัย COPD ได้หรือไม่
P: chronic cough with smoking history
I: clinical and CXR
C: spirometry
O:Dx COPD
CC: ไอ มา 2 ปี
PI: 2 ปีก่อน มารพ. ไอ เป็นๆหายๆ มีเสมหะสีขาว เหนียว ไอมากจนเจ็บหน้าอก ไม่เคยหอบ ช่วงหลังรู้สึกว่า จะไอมากขึ้น เวลาไอมากจะนอนราบไม่ได้ ไม่มีอาการบวม ไปรักษาที่คลินิกและรพ.หลายแห่ง ได้ยาแก้ไอมารับประทาน อาการไอน้อยลง
1 เดือนก่อนมารพ. ไอมากขึ้น ไอมากจนรู้สึกเจ็บชายโครง มีเสมหะสีขาวๆ ไม่มีไข้ ไม่มีน้ำหนักลด ได้รับประทานยาแก้ไอ อาการไม่ดีขึ้น จึงมารพ.
PH: ปฏิเสธโรคประจำตัว
ปฏิเสธการแพ้ยา แพ้อาหาร
สูบบุหรี่วันละ ครึ่งซอง มานาน 25 ปี เลิกสูบได้ ครึ่งปี
Family History: ไม่มีประวัติโรคติดต่อทางกรรมพันธุ์
มีหลานชายอายุ 12 ปี เป็นโรคหอบหืด
PE: GA – good conscious, not pale, looked fatigue
HEENT: cervical lymph node not palpable, pharynx& tonsil not injected
Cardiovascular: normal s1 s2, no murmur
Respiratory: prolong expiration, uses accessory muscles, normal breath sound
Abdomen; soft, not tender, liver & spleen cannot palpable
Investigation:
CBC- WNL
CXR- Hyper aeration, wide ICS, normal heart size
แพทย์ Dx COPD
Q: ผู้ป่วยที่มีอาการไอเรื้อรัง ร่วมกับประวัติสูบบุรี่ สามารถใช้ ประวัติ และการตรวจ CXR ในการวินิจฉัย COPD ได้หรือไม่
P: chronic cough with smoking history
I: clinical and CXR
C: spirometry
O:Dx COPD
Assignment I : Diagnosis case โดย นศพ.ปานหทัย หุตะจูฑะ
Patient Profile : หญิงไทยคู่ อายุ 42 ปี อาชีพ รับราชการครู
CC: มาตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
PI: ผู้ป่วยสุขภาพร่างกายปกติแข็งแรงดี ไม่มีอาการเลือดออกผิดปกติจากช่องคลอด ไม่มีเลือดออกหลังมีเพศสัมพันธ์ ไม่มีอาการปวดท้องน้อย ไม่มีตกขาวผิดปกติ มาโรงพยาบาลเพื่อขอตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
OB&GYN history:
P2-0-0-2 last 13 yrs old
LMP 1 เม.ย. 2552 Duration 5 days Interval 30 days
Pap smear ครั้งสุดท้าย 2ปีก่อน ผลปกติ
ประจำเดือนครั้งแรกอายุ 13 ปี
เพศสัมพันธ์ครั้งแรกอายุ 24 ปี
Past History :
ปฏิเสธโรคประจำตัว
ปฏิเสธแพ้ยา/อาหาร
หลังจากนั้นแพทย์ได้ทำการตรวจ่างกายและตรวจภายในให้กับผู้ป่วย ผลปกติ และได้ทำ Pap smear
ก่อนที่ผู้ป่วยจะเดินทางกลับได้สอบถามแพทย์เกี่ยวกับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกโดยใช้น้ำส้มสายชูว่าคืออะไร และให้ผลน่าเชื่อถือเพียงใด และในการตรวจคัดกรองครั้งหน้าจะใช้วิธีนี้ได้หรือไม่
Question: การใช้วิธี VIA (Visual inspection with acetic acid) ให้ผลแม่นยำเพียงใดในการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
Patient : 42 years old woman
Intervention: VIA
comparison: cervical biopsy
Outcome: Histological diagnose abnormal cell
CC: มาตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
PI: ผู้ป่วยสุขภาพร่างกายปกติแข็งแรงดี ไม่มีอาการเลือดออกผิดปกติจากช่องคลอด ไม่มีเลือดออกหลังมีเพศสัมพันธ์ ไม่มีอาการปวดท้องน้อย ไม่มีตกขาวผิดปกติ มาโรงพยาบาลเพื่อขอตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
OB&GYN history:
P2-0-0-2 last 13 yrs old
LMP 1 เม.ย. 2552 Duration 5 days Interval 30 days
Pap smear ครั้งสุดท้าย 2ปีก่อน ผลปกติ
ประจำเดือนครั้งแรกอายุ 13 ปี
เพศสัมพันธ์ครั้งแรกอายุ 24 ปี
Past History :
ปฏิเสธโรคประจำตัว
ปฏิเสธแพ้ยา/อาหาร
หลังจากนั้นแพทย์ได้ทำการตรวจ่างกายและตรวจภายในให้กับผู้ป่วย ผลปกติ และได้ทำ Pap smear
ก่อนที่ผู้ป่วยจะเดินทางกลับได้สอบถามแพทย์เกี่ยวกับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกโดยใช้น้ำส้มสายชูว่าคืออะไร และให้ผลน่าเชื่อถือเพียงใด และในการตรวจคัดกรองครั้งหน้าจะใช้วิธีนี้ได้หรือไม่
Question: การใช้วิธี VIA (Visual inspection with acetic acid) ให้ผลแม่นยำเพียงใดในการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
Patient : 42 years old woman
Intervention: VIA
comparison: cervical biopsy
Outcome: Histological diagnose abnormal cell
assignment 1 นศพ นพวรรณ แสงแก้ว
Therapy
หญิงไทยคู่ อายุ 31 ปี
CC: อาการเจ็บครรภ์คลอดมา 2 ชม.
PI : G2P1 GA 39 weeks by LMP 2 ชม ก่อนมารพ. มีการเจ็บครรภ์คลอด ไม่ได้ไปฝากครรภ์ ขณะตั้งครรภ์ลูกดิ้นดีตลอด เจ็บครรภ์คลอดมากขึ้น ยังไม่มีน้ำเดิน จึงมารพ.
PH: ปฏิเสธประวัติโรคประจำตัว
ปฏิเสธประวัติการใช้ยาใดๆเป็นประจำ
Family history: ไม่มีโรคติดต่อทางกรรมพันธุ์
สามีอาชีพ รับจ้าง
OB&Gyn history: คลอดบุตรคนแรก NL ปี 2548 ทารกเพศชาย นน. 3,000 กรัม
ไม่ได้คุมกำเนิด
Review of system :ปกติ
PE: vital signs ปกติ
Abdomen FH ¾ > O position OL FHS 140/min
PV Cx dilate 2 cm , eff 50%, MI, station -2
Investigation : CBC - Hct 30%
HIV rapid test - reaction
Question: หญิงตั้งครรภ์ที่มีอาการเจ็บครรภ์คลอดแล้ว การได้รับ ARV เทียบกับ การทำ C/S วิธีใดสามารถลดอัตราการติดเชื้อจากแม่ไปสู่ลูกได้ดีกว่ากัน
P: HIV in pregnancy with labor pain
I: ARV
C: Cesarean section
O: reduced mother to child transmission rate
หญิงไทยคู่ อายุ 31 ปี
CC: อาการเจ็บครรภ์คลอดมา 2 ชม.
PI : G2P1 GA 39 weeks by LMP 2 ชม ก่อนมารพ. มีการเจ็บครรภ์คลอด ไม่ได้ไปฝากครรภ์ ขณะตั้งครรภ์ลูกดิ้นดีตลอด เจ็บครรภ์คลอดมากขึ้น ยังไม่มีน้ำเดิน จึงมารพ.
PH: ปฏิเสธประวัติโรคประจำตัว
ปฏิเสธประวัติการใช้ยาใดๆเป็นประจำ
Family history: ไม่มีโรคติดต่อทางกรรมพันธุ์
สามีอาชีพ รับจ้าง
OB&Gyn history: คลอดบุตรคนแรก NL ปี 2548 ทารกเพศชาย นน. 3,000 กรัม
ไม่ได้คุมกำเนิด
Review of system :ปกติ
PE: vital signs ปกติ
Abdomen FH ¾ > O position OL FHS 140/min
PV Cx dilate 2 cm , eff 50%, MI, station -2
Investigation : CBC - Hct 30%
HIV rapid test - reaction
Question: หญิงตั้งครรภ์ที่มีอาการเจ็บครรภ์คลอดแล้ว การได้รับ ARV เทียบกับ การทำ C/S วิธีใดสามารถลดอัตราการติดเชื้อจากแม่ไปสู่ลูกได้ดีกว่ากัน
P: HIV in pregnancy with labor pain
I: ARV
C: Cesarean section
O: reduced mother to child transmission rate
Assigment I Treatment Case โดย นศพ.ปานหทัย หุตะจูฑะ
Patient profile : หญิงไทยคู่ อายุ 23 ปี
CC: เลือดออกจากช่องคลอด 1 วันก่อนมา รพ.
PI: 1 วันก่อน ผู้ป่วยสังเกตว่ามีเลือดสดออกจากช่องคลอด ปริมาณไม่มากพอเปื้อนกางเกงใน เลือดที่ออกไม่มีลักษณะเป็นชิ้นเนื้อ หรือลักษณะเป็นวุ้นใส
2 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาลเลือดออกมากชึ้นเปื้อนผ้าอนามัยเกือบเต็มแผ่น มีอาการปวดท้องเล็กน้อย ไม่มีเวียนศีรษะหน้ามืด ผู้ป่วยจึงมา รพ.
OB&GYN history :
G2P1 last 1 yr
GA 7 wk by LMP
LMP 19 ก.พ. 2552
ปฏิเสธ criminal abortion
Past History :
ปฏิเสธโรคประจำตัว
ปฏิเสธแพ้ยา/อาหาร
Physical Examination
v/s : BT 37.4 c ,PR 92/min, RR 20/min, BP 120/80 mmHg
HEENT : not pale, no jaundice
Heart & Lung : within normal limit
Abdomen : soft , not disten, no guarding , mild tenderness at lower abdomen, uterus size can not palpate
Extremity: cappilary refil<2 sec.
PV:
MIUB : normal
Cervix: Os dilate 1fingle tip, Bloody discharge per os, active bleed
Uterus: ~ 8 wk size
vagina : bloody discharge
Adnexa: no mass
Diagnosis: Incomplete abortion
Plan : Dilatation and curretage
ผู้ศึกษาทราบว่านอกจากวิธีทางศัลยกรรม (D&C) ซึ่งเป็นวิธีทั่วไปในการ terination of pregnancy in first trimester แล้วนั้น ยังมีวิธีทาง medical ซึ่งสามารถใช้ในการ termination ได้เช่นกัน
QUESTION : ประสิทธิภาพของการ termination of pregnancy in first trimester ด้วยวิธีทาง medical เมื่อเปรียบเที่ยบกับวิธี surgical ให้ผลเป็นอย่างไร
Patient: 23 years old pregnant GA 7 wk incomplete abortion
Intervention: medical treatment
Comparison: surgical treatment (D&C)
Outcome: Complete abortion
CC: เลือดออกจากช่องคลอด 1 วันก่อนมา รพ.
PI: 1 วันก่อน ผู้ป่วยสังเกตว่ามีเลือดสดออกจากช่องคลอด ปริมาณไม่มากพอเปื้อนกางเกงใน เลือดที่ออกไม่มีลักษณะเป็นชิ้นเนื้อ หรือลักษณะเป็นวุ้นใส
2 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาลเลือดออกมากชึ้นเปื้อนผ้าอนามัยเกือบเต็มแผ่น มีอาการปวดท้องเล็กน้อย ไม่มีเวียนศีรษะหน้ามืด ผู้ป่วยจึงมา รพ.
OB&GYN history :
G2P1 last 1 yr
GA 7 wk by LMP
LMP 19 ก.พ. 2552
ปฏิเสธ criminal abortion
Past History :
ปฏิเสธโรคประจำตัว
ปฏิเสธแพ้ยา/อาหาร
Physical Examination
v/s : BT 37.4 c ,PR 92/min, RR 20/min, BP 120/80 mmHg
HEENT : not pale, no jaundice
Heart & Lung : within normal limit
Abdomen : soft , not disten, no guarding , mild tenderness at lower abdomen, uterus size can not palpate
Extremity: cappilary refil<2 sec.
PV:
MIUB : normal
Cervix: Os dilate 1fingle tip, Bloody discharge per os, active bleed
Uterus: ~ 8 wk size
vagina : bloody discharge
Adnexa: no mass
Diagnosis: Incomplete abortion
Plan : Dilatation and curretage
ผู้ศึกษาทราบว่านอกจากวิธีทางศัลยกรรม (D&C) ซึ่งเป็นวิธีทั่วไปในการ terination of pregnancy in first trimester แล้วนั้น ยังมีวิธีทาง medical ซึ่งสามารถใช้ในการ termination ได้เช่นกัน
QUESTION : ประสิทธิภาพของการ termination of pregnancy in first trimester ด้วยวิธีทาง medical เมื่อเปรียบเที่ยบกับวิธี surgical ให้ผลเป็นอย่างไร
Patient: 23 years old pregnant GA 7 wk incomplete abortion
Intervention: medical treatment
Comparison: surgical treatment (D&C)
Outcome: Complete abortion
Assignment 1 : Diagnosis By นศพ.สุนันทิกา จิตวารินทร์
PP: ชายไทยโสด อายุ 23 ปี อาชีพ ขับมอเตอร์ไซค์รับจ้าง
CC: อุบัติเหตุรถจักรยานยนต์ชนท้ายรถยนต์ มีอาการปวดท้องมา 15 นาที่
PI:15 นาทีก่อนมารพ. ขับมอเตอร์ไซด์ชนท้ายรถยนต์ที่จอดอยู่ มีอาการปวดท้องตรงกลาง
ไม่สลบ จำเหตุการณ์ได้
PE: GA: Thai man good conciousness
vital signs : BP 120/80 mmHg,PR= 90 /min, RR= 18/min , BT= 37.5 C
HEENT : not pale, no jaundice
Heart : normal s1s2,no murmur
Lungs:clear both side
Abdomen: mild to moderate tender at periumbilical area and ecchymosis in this area,
voluntary guarding
Ext.: no deformity
FAST : no free fluid in pericardium and in peritoneal cavity
จาก case ดังกล่าวข้าพเจ้ามีคำถามอยากทราบว่าการทำ ultrasonography สามารถ rule out intraabdominal organ injury ได้หรือไม่และมีความน่าเชื่อถือเพียงใด
P:ชายไทยได้รับอุบัติเหตุมอเตอร์ไซด์ที่มีอาการปวดท่้อง
I:ultrasonography
C: triple contrast CT scan abdomen
O: Intraabdominal organ injury
โดย นศพ.สุนันทิกา จิตวารินทร์
CC: อุบัติเหตุรถจักรยานยนต์ชนท้ายรถยนต์ มีอาการปวดท้องมา 15 นาที่
PI:15 นาทีก่อนมารพ. ขับมอเตอร์ไซด์ชนท้ายรถยนต์ที่จอดอยู่ มีอาการปวดท้องตรงกลาง
ไม่สลบ จำเหตุการณ์ได้
PE: GA: Thai man good conciousness
vital signs : BP 120/80 mmHg,PR= 90 /min, RR= 18/min , BT= 37.5 C
HEENT : not pale, no jaundice
Heart : normal s1s2,no murmur
Lungs:clear both side
Abdomen: mild to moderate tender at periumbilical area and ecchymosis in this area,
voluntary guarding
Ext.: no deformity
FAST : no free fluid in pericardium and in peritoneal cavity
จาก case ดังกล่าวข้าพเจ้ามีคำถามอยากทราบว่าการทำ ultrasonography
P:ชายไทยได้รับอุบัติเหตุมอเตอร์ไซด์ที่มีอาการปวดท่้อง
I:ultrasonography
C: triple contrast CT scan abdomen
O: Intraabdominal organ injury
โดย นศพ.สุนันทิกา จิตวารินทร์
ส่งงานชิ้นที่1 (เรื่องที่2 therapy)
ชายไทย อายุ 50 ปี
CC: Known case DM 7 ปี มาตามนัดสม่ำเสมอ รับประทานยาตามแพทย์สั่งสม่ำเสมอ นัดมาติดตามผลการรักษา สบายดี ไม่มีไข้สูง ไม่มีเบื่ออาหาร ไม่มีคลื่นไส้อาเจียน ไม่มีน้ำหนักลด ถ่ายปัสสาวะบ่อย ต้องลุกขึ้นมาเข้าห้องน้ำบ่อยตอนกลางคืนถึง 3 ครั้ง/ คืน อุจจาระปกติดี
PH: เป็นโรคเบาหวานมา 7 ปี ควบคุมด้วยอาหาร มาหาหมอตามนัดและทานยาเบาหวานสม่ำเสมอมาตลอด ควบคุมน้ำตาลในเลือดได้ดี โดยการตวจน้ำตาลในเลือดสี่ครังหลังดังต่อไปนี้ 110 , 100 , 112 , 90mg% ปฏิเสธประวัติแพ้ยาแพ้อาหาร ไม่สูบบุหรี่ ไม่ดื่มเหล้า
ยาที่ใช้คือ
Glipizide po 1x2
metformin po 1x2
PE:V/S: BT 37.1 °C, PR 68/min, RR 20/min, BP 122/70 mmHg
GA: Thai male, good consciousness, well co-operated
HEENT: mild pale conjunctivae, no juandice
Heart& lung: WNL
Abdomen: soft, not tender
other: WNL
Lab:
FBS: 98 mg%
UA : proteinuria ++
Question: ผู้ป่วยที่เป็นเบาหวานที่มีDiabetic nephropathy ที่ได้รับยาACEI สามารถลด motarity rate ได้จริงหรือไม่
P: Patient with diabetic nephropathy
I: ACEI
C: placebo
O: ACE-inhibitor can reduce motarity rate in diabetic nephropathy
นศพ.ชัฎชฎาพร แก้วแย้ม
CC: Known case DM 7 ปี มาตามนัดสม่ำเสมอ รับประทานยาตามแพทย์สั่งสม่ำเสมอ นัดมาติดตามผลการรักษา สบายดี ไม่มีไข้สูง ไม่มีเบื่ออาหาร ไม่มีคลื่นไส้อาเจียน ไม่มีน้ำหนักลด ถ่ายปัสสาวะบ่อย ต้องลุกขึ้นมาเข้าห้องน้ำบ่อยตอนกลางคืนถึง 3 ครั้ง/ คืน อุจจาระปกติดี
PH: เป็นโรคเบาหวานมา 7 ปี ควบคุมด้วยอาหาร มาหาหมอตามนัดและทานยาเบาหวานสม่ำเสมอมาตลอด ควบคุมน้ำตาลในเลือดได้ดี โดยการตวจน้ำตาลในเลือดสี่ครังหลังดังต่อไปนี้ 110 , 100 , 112 , 90mg% ปฏิเสธประวัติแพ้ยาแพ้อาหาร ไม่สูบบุหรี่ ไม่ดื่มเหล้า
ยาที่ใช้คือ
Glipizide po 1x2
metformin po 1x2
PE:V/S: BT 37.1 °C, PR 68/min, RR 20/min, BP 122/70 mmHg
GA: Thai male, good consciousness, well co-operated
HEENT: mild pale conjunctivae, no juandice
Heart& lung: WNL
Abdomen: soft, not tender
other: WNL
Lab:
FBS: 98 mg%
UA : proteinuria ++
Question: ผู้ป่วยที่เป็นเบาหวานที่มีDiabetic nephropathy ที่ได้รับยาACEI สามารถลด motarity rate ได้จริงหรือไม่
P: Patient with diabetic nephropathy
I: ACEI
C: placebo
O: ACE-inhibitor can reduce motarity rate in diabetic nephropathy
นศพ.ชัฎชฎาพร แก้วแย้ม
งานชิ้นที่1 นศพ. ชัฏชฎาพร แก้วแย้ม
case: ผู้หญิงไทยคู่อายุ 48 ปี อาชีพแม่บ้าน ภูมิลำเนา สงขลา
CC.ปวดท้องน้อย1 เดือนก่อนมา รพ
PI. รูสึกปวดช่องคลอดเวลามีเพศสัมพันธ์ ไม่มีเลือดออกเมื่อมีเพศสัมพันธ์ และปวดท้องน้อยมาหนึ่งเดือน อาการปวดท้องน้อยเป็นๆหายๆคล้ายอาการปวดประจำเดือน บางครั้งมีปวดร้าวลงขาทั้งสองข้าง โดยอาการปวดท้องน้อยเป็นมากขึ้นตลอดเวลาหนึ่งเดือน ปัสสาวะอุจจาระปกติไม่มีแสบหรือติดขัด สามารถกลั้นปัสสาวะอุจจาระได้ ไม่เบื่ออาหาร ไม่มีน้ำหนักลด หรือไข้ต่ำๆในช่วงนี้
PH. ปฏิเสธโรคประจำตัวใดๆ
ไม่ได้ใช้ยาใดเป็นประจำ
ปฏิเสธการแพ้ยาแพ้อาหาร
OB&GYN. เคยทำpap smear เมื่อ5 ปีก่อนผลปกติดี หลังจากนั้นไม่ได้ตรวจภายในและทำpap smear อีก ประจำเดือนครั้งแรกตอนอายุ 12 ปี มาสม่ำเสมอครั้งละ5วัน interval 28 วัน ใช้ผ้าอนามัยวันล่ะ 2-3 แผ่น ตอนนี้ยังมีประจำเดือนสม่ำเสมออยู่ LMP 20/6/52 (10วันก่อน)
แต่งงานตอนอายุ 20 ปี G4P4 last 18 ปี คุมกำเนิดโดยใช้ห่วงอนามันจนอายุ43 ปีหลังจากนั้นถอดออกปละไม่ได้คุมกำเนิดอีก
Other: ปฏิเสธโรคประจำตัวและประวัคิโรคทางพันธุกรรม ปฏิเสธการดื่มสุราสูบบุหรี่
PE:
V/S: stable BT 37.2c RR 20/min PR72/min BP 110/70mmHg.
GENERAL: goodconciousness and well co operated
HEENT: no pale conjunctivae , no ictericsclera
Heart&lung: WNL
Abdomen: solf not tender no mass
PV: MIUB normal
Vagina normal discharge
Cervic nomass no lession
Uterus mild enlargement (12wk size)
Adnexae no mass, not tender
Cul-de-sac no bulging
RV exam no adhesion
Investigation
CBC : normal
UA: normal
Pap smear : สมมติว่าผลออกแล้ว abnormal glandular cell ;adenocarcinomar of endometrial
ในผู้ป่วยรายนี้ได้รับการตรวจเบื้องต้นว่าเป็นมะเร็งของเยื่อบุโพรงมดลูก ซึ๋งได้ผลจาการตรวจpapsmear จึงทำให้ข้าพเจ้าอยากทราบว่าการวินิจฉัยมะเร็งเยื่อบุโพรงมดลูกโดยPapsmear มีความแม่นยำที่พอจะเชื่อมั่นได้หรือไม่
P: ผู้ป่วยหญิง ปวดท้องน้อย เจ็บช่องคลอดเวลามีเพศสัมพันธ์
I: papsmear that report adnormal pattern of glandular cell in endometrial such as Atypical glanular cell/Atypical glanular cell favor neoplasia/ adenocarcinoma ของ endometrial
C: endometrial biopsy
O: How about Pap smear can we use to it to detect endometrial cancer ?
นศพ ชัฏชฎาพร แก้วแย้ม
CC.ปวดท้องน้อย1 เดือนก่อนมา รพ
PI. รูสึกปวดช่องคลอดเวลามีเพศสัมพันธ์ ไม่มีเลือดออกเมื่อมีเพศสัมพันธ์ และปวดท้องน้อยมาหนึ่งเดือน อาการปวดท้องน้อยเป็นๆหายๆคล้ายอาการปวดประจำเดือน บางครั้งมีปวดร้าวลงขาทั้งสองข้าง โดยอาการปวดท้องน้อยเป็นมากขึ้นตลอดเวลาหนึ่งเดือน ปัสสาวะอุจจาระปกติไม่มีแสบหรือติดขัด สามารถกลั้นปัสสาวะอุจจาระได้ ไม่เบื่ออาหาร ไม่มีน้ำหนักลด หรือไข้ต่ำๆในช่วงนี้
PH. ปฏิเสธโรคประจำตัวใดๆ
ไม่ได้ใช้ยาใดเป็นประจำ
ปฏิเสธการแพ้ยาแพ้อาหาร
OB&GYN. เคยทำpap smear เมื่อ5 ปีก่อนผลปกติดี หลังจากนั้นไม่ได้ตรวจภายในและทำpap smear อีก ประจำเดือนครั้งแรกตอนอายุ 12 ปี มาสม่ำเสมอครั้งละ5วัน interval 28 วัน ใช้ผ้าอนามัยวันล่ะ 2-3 แผ่น ตอนนี้ยังมีประจำเดือนสม่ำเสมออยู่ LMP 20/6/52 (10วันก่อน)
แต่งงานตอนอายุ 20 ปี G4P4 last 18 ปี คุมกำเนิดโดยใช้ห่วงอนามันจนอายุ43 ปีหลังจากนั้นถอดออกปละไม่ได้คุมกำเนิดอีก
Other: ปฏิเสธโรคประจำตัวและประวัคิโรคทางพันธุกรรม ปฏิเสธการดื่มสุราสูบบุหรี่
PE:
V/S: stable BT 37.2c RR 20/min PR72/min BP 110/70mmHg.
GENERAL: goodconciousness and well co operated
HEENT: no pale conjunctivae , no ictericsclera
Heart&lung: WNL
Abdomen: solf not tender no mass
PV: MIUB normal
Vagina normal discharge
Cervic nomass no lession
Uterus mild enlargement (12wk size)
Adnexae no mass, not tender
Cul-de-sac no bulging
RV exam no adhesion
Investigation
CBC : normal
UA: normal
Pap smear : สมมติว่าผลออกแล้ว abnormal glandular cell ;adenocarcinomar of endometrial
ในผู้ป่วยรายนี้ได้รับการตรวจเบื้องต้นว่าเป็นมะเร็งของเยื่อบุโพรงมดลูก ซึ๋งได้ผลจาการตรวจpapsmear จึงทำให้ข้าพเจ้าอยากทราบว่าการวินิจฉัยมะเร็งเยื่อบุโพรงมดลูกโดยPapsmear มีความแม่นยำที่พอจะเชื่อมั่นได้หรือไม่
P: ผู้ป่วยหญิง ปวดท้องน้อย เจ็บช่องคลอดเวลามีเพศสัมพันธ์
I: papsmear that report adnormal pattern of glandular cell in endometrial such as Atypical glanular cell/Atypical glanular cell favor neoplasia/ adenocarcinoma ของ endometrial
C: endometrial biopsy
O: How about Pap smear can we use to it to detect endometrial cancer ?
นศพ ชัฏชฎาพร แก้วแย้ม
Assignment I โดย กาญจนา
Treatment Case
by… นศพ.กาญจนา โก๊ยดุลย์
หญิงพม่า อายุ 23 ปี
G1P0 GA 37 weeks by LMP
ไม่พบความผิดปกติใดๆตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์และระหว่างการตั้งครรภ์
คลอด Normal Labor ได้ทารกเพศชาย หนัก 2,650 gm APGAR 9,10,10
หลังคลอดน้ำนมไม่ค่อยไหล จนลูกต้องกินนมเสริม
ตรวจร่างกายพบว่าหัวนมปกติดี ระบบอื่นปกติดี
แพทย์จึงสั่งยา Domperidone ให้ โดยสั่ง Motilium(10 mg) 3x3 กินก่อนอาหาร เพื่อหวังผลเพิ่มปริมาณน้ำนม
Patient or Problem: postpartum
Intervention: Domperidone
Comparison intervention: placebo
Outcome: lactation
Question: การให้ยา Domperidone ในสตรีหลังคลอดสามารถช่วยเพิ่มปริมาณน้ำนมได้หรือไม่
by… นศพ.กาญจนา โก๊ยดุลย์
หญิงพม่า อายุ 23 ปี
G1P0 GA 37 weeks by LMP
ไม่พบความผิดปกติใดๆตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์และระหว่างการตั้งครรภ์
คลอด Normal Labor ได้ทารกเพศชาย หนัก 2,650 gm APGAR 9,10,10
หลังคลอดน้ำนมไม่ค่อยไหล จนลูกต้องกินนมเสริม
ตรวจร่างกายพบว่าหัวนมปกติดี ระบบอื่นปกติดี
แพทย์จึงสั่งยา Domperidone ให้ โดยสั่ง Motilium(10 mg) 3x3 กินก่อนอาหาร เพื่อหวังผลเพิ่มปริมาณน้ำนม
Patient or Problem: postpartum
Intervention: Domperidone
Comparison intervention: placebo
Outcome: lactation
Question: การให้ยา Domperidone ในสตรีหลังคลอดสามารถช่วยเพิ่มปริมาณน้ำนมได้หรือไม่
Assignment I โดย กาญจนา
Diagnosis Case
by… นศพ.กาญจนา โก๊ยดุลย์
ชายไทย อายุ 36 ปี
CC: ปวดท้องมาก 1 วัน PTA
PI: 3 วัน PTA มีอาการปวดท้องแบบตื้อๆบริเวณรอบสะดือ ปวดเป็นพักๆเป็นๆหายๆ กินยาแก้ปวดแล้วอาการดีขึ้น เบื่ออาหาร ไม่มีไข้ ไม่มีคลื่นไส้อาเจียน
1 วัน PTA มีอาการปวดท้องมากขึ้นโดยย้ายมาปวดบริเวณด้านขวาล่าง มีไข้สูง หนาวสั่น เบื่ออาหาร ไม่มีคลื่นไส้อาเจียน ถ่ายปัสสาวะและอุจจาระปกติดี
PH: เป็นโรคความดันโลหิตสูง 4 ปี ควบคุมด้วยอาหาร ไม่ได้ใช้ยาใด
ปฏิเสธประวัติแพ้ยาแพ้อาหาร ปฏิเสธประวัติการได้รับอุบัติเหตุบริเวณช่องท้อง
เคยสูบบุหรี่ ปัจจุบันเลิกมา 5 ปีแล้ว (เดิมสูบวันละ 10 มวน เป็นเวลา 19 ปี)
ปฏิเสธประวัติดื่มสุรา
PE:
V/S: BT 38.1 °C, PR 94/min, RR 20/min, BP 122/70 mmHg
GA: Thai male, good consciousness, well co-operated, look fatigue
Abdomen: soft, active bowel sound, tender at RLQ with guarding, rebound tenderness positive, no ascities
Other: WNL
Lab:
CBC : Leukocytosis with Neutrophil predominate
แพทย์สงสัย Appendicitis ประเมิน Alvarado Score = 8 แปลผลว่า probable to diagnosis (migration of the pain to the RLQ[1] = 1, anorexia[1] = 1, nausea and vomiting[1] = 0, tenderness at RLQ[2] = 2, rebound pain[1]= 1, elevate temperature[1]= 1, leukocyosis[2]= 2, shift of the WBC to the left[1] = 0) แพทย์ plan ทำ Appendectomy
Patient or Problem: Patient with RLQ pain
Intervention: Alvarado score
Comparison intervention: -
Outcome: histological diagnosed to have appendicitis
Question: การใช้ Alvarado Score ในผู้ป่วยที่มาด้วย RLQ pain มีความแม่นยำเพียงไรในการวินิจฉัย Appendicitis
by… นศพ.กาญจนา โก๊ยดุลย์
ชายไทย อายุ 36 ปี
CC: ปวดท้องมาก 1 วัน PTA
PI: 3 วัน PTA มีอาการปวดท้องแบบตื้อๆบริเวณรอบสะดือ ปวดเป็นพักๆเป็นๆหายๆ กินยาแก้ปวดแล้วอาการดีขึ้น เบื่ออาหาร ไม่มีไข้ ไม่มีคลื่นไส้อาเจียน
1 วัน PTA มีอาการปวดท้องมากขึ้นโดยย้ายมาปวดบริเวณด้านขวาล่าง มีไข้สูง หนาวสั่น เบื่ออาหาร ไม่มีคลื่นไส้อาเจียน ถ่ายปัสสาวะและอุจจาระปกติดี
PH: เป็นโรคความดันโลหิตสูง 4 ปี ควบคุมด้วยอาหาร ไม่ได้ใช้ยาใด
ปฏิเสธประวัติแพ้ยาแพ้อาหาร ปฏิเสธประวัติการได้รับอุบัติเหตุบริเวณช่องท้อง
เคยสูบบุหรี่ ปัจจุบันเลิกมา 5 ปีแล้ว (เดิมสูบวันละ 10 มวน เป็นเวลา 19 ปี)
ปฏิเสธประวัติดื่มสุรา
PE:
V/S: BT 38.1 °C, PR 94/min, RR 20/min, BP 122/70 mmHg
GA: Thai male, good consciousness, well co-operated, look fatigue
Abdomen: soft, active bowel sound, tender at RLQ with guarding, rebound tenderness positive, no ascities
Other: WNL
Lab:
CBC : Leukocytosis with Neutrophil predominate
แพทย์สงสัย Appendicitis ประเมิน Alvarado Score = 8 แปลผลว่า probable to diagnosis (migration of the pain to the RLQ[1] = 1, anorexia[1] = 1, nausea and vomiting[1] = 0, tenderness at RLQ[2] = 2, rebound pain[1]= 1, elevate temperature[1]= 1, leukocyosis[2]= 2, shift of the WBC to the left[1] = 0) แพทย์ plan ทำ Appendectomy
Patient or Problem: Patient with RLQ pain
Intervention: Alvarado score
Comparison intervention: -
Outcome: histological diagnosed to have appendicitis
Question: การใช้ Alvarado Score ในผู้ป่วยที่มาด้วย RLQ pain มีความแม่นยำเพียงไรในการวินิจฉัย Appendicitis
26/06/2009
ยินดีต้อนรับสู่ EBM Blog ประจำปี 2552
น้องๆปี5 FM&CM
เริ่มทยอย Post การบ้านกันได้เลยค่ะ ปีนี้เปิด Blog ช้าไปหน่อยแต่คิดว่าน้องคงมี Case เตรียมไว้แล้ว
Assignment I (Individual 2%)
เลือก Case ที่สนใจ 2 case จะเป็น Rx,Dx,Harm,Pronosis เลือกมา 2/4 ของเดิมจำกัดแต่ Dx และ Rx ปีนี้เปิดกว้างเป็น 4 Theme ค่ะ
Post ก่อน 16.00 28 มิย52 นี้นะคะ เสร็จแล้วก็อย่าลืม เข้าไปให้ความคิดเห็น Case ของเพื่อนๆ อย่างน้ัอย2 case ความคิดเห็นนี้ยืดเวลาให้ถึง 16.00 3 กค 52 ค่ะ
Cheers,
Staffs