CASE 2 (Diagnosis) : หญิงไทยคู่ อายุ 23 ปี อาชีพ รับราชการ
CC : มีอาการปวดท้องน้อย 3 hr. PTA
PI : 1 วันก่อนมารพ. มีอาการตกขาวมีกลิ่มเหม็น ลักษณะสีขาวขุ่น พอเปื้อนกางเกงใน ไม่มีอาการปวดท้อง มีไข้ต่ำๆ
3 ชม. ก่อนมารพ. มีอาการปวดถ่วงบริเวณท้องน้อย มีไข้สูง ยังคงมีตกขาวมีกลิ่นเหม็น ปัสสวาะ แสบขัด
PH : 1 ปีก่อน เคยป่วยเป็นโรคปีกมดลูกอักเสบ
ปฏิเสธโรคประจำตัวตัวอื่นๆ
LMP 15 มีนาคม 2552(Interval 30 , duration 5 )
PE
V/S BT 38.2 C, RR 24 /min , HR 100/min,BP 110/80 mmHg
Abd : soft, marked tender at suprapubic
PV : NIUB : Normal
Vagina : Yellowish discharg
Cervix : Os close, Cervical motion tenderness
ADX : No mass
แพทย์ให้การวินิจฉัยว่าเป็น Acute pelvic inflamatory disease
คำถาม การให้การวินิจฉัย Acute pelvic inflamatory disease โดยอาศัยเกณฑ์ของ CDC ให้ผลที่แม่นยำเมื่อเทียบกับ Laproscopic ซึ่งถือว่าเป็นgold standard ได้หรือไม่
PICO
P : ผู้ป่วยหญิงที่มาด้วยอาการปวดท้องน้อยร่วมกับมีอาการตกขาว
I : Criteria of CDC
C : Lapraloscopic
O : sensitivity and specificity ในการวินิจฉัย
นศพ ไพรัช ศิริกุล
4 comments:
เปแนเรื่องที่น่าสนใจ เพราะใช้อาการและผล lab ในการวินิจฉัย ผู้ป่วยจะได้ไม่ต้องเจ็บตัวมาก
น่าสนใจนะ เพราะว่าโรคนี้เจอบ่อย
และรพช.ก็ไม่สามารถทำ lapraloscopicได้
หากสามารถวินิจฉัยโรคได้ตั้งแต่การตรวจร่างกายก็เป็นสิ่งที่ดี
เป็นสิ่งที่ควรรู้ เพื่อจะได้เอาไป แนะนำคนไข้ได้ถูกต้อง หากเราสงสัย ตอนใช้ทุนอยู่รพช
เออ คล้ายกันนะ แต่คนละโรคกัน
เราว่า จำเปนทั้งสอง โรคเรยเนอะ
Post a Comment