Wellcome to EBM group

ยินดีต้อนรับน้องๆทุกคนค่ะ ขอให้มีความสุขและสนุกกับการเรียนEvidence Based Medicine ของภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชนโรงพยาบาลหาดใหญ่


Staffs


06/07/2010

assignment I นศพ.ถิรวัฒน์ จิ้วผกานนท์ ปี 5 4910310056

CaseI หญิงไทยคู่ อายุ 16 ปี, G1P0, GA 36+4 weeks by LMP

C.C. : ตรวจพบความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ GA 36+4 weeks by LMP

P.I. : วันนี้ผู้ป่วยมาฝากครรภ์ตามปกติครั้งที่ 8 แพทย์ตรวจพบมีความดันโลหิตสูง โดยวัด 2 ครั้ง ร่วมกับ ตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะ โดยก่อนหน้านี้ผลการฝากครรภ์ปกติมาโดยตลอด ผู้ป่วยไม่มีอาการ ปวดศีรษะ ตาพร่ามัว จุกแน่นลิ้นปี่ ปัสสาวะออกดี ไม่มีอาการหอบเหนื่อย และลูกในครรภ์ดิ้นดี

P.H.
: - no underlying disease
- denied drug and food allergy

P.E.
:
V/S
; BP : 150/100 mmHg , 140/100 mmHg ; BT : 37.2 ํc
PR : 90 bpm ; RR : 20 / min
GA ; good consciousness
HEENT ; not pale, no juandice
Heart ; normal s1 s2 , no murmur
Lung ; clear both lung Rt = Lt, no adventitious sound
Abdomen ; FH 3/4 > @ , position OL , FHS 140 bpm
Extremities ; edema 1+, reflex 2+ all

Lab :
CBC
; HCT 34%, HGB 12 mg/dL, WBC 12,000 uL, PLT 250,000 uL
LFT ; normal
BUN/Cr ; normal
LDH/uric acid ; normal
Urine albumin ; 1+

Diagnosis : mild preeclampsia

ประเด็นทางคลินิก : สำหรับผู้ป่วยรายนี้ได้รับเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาล และสังเกตุอาการและอาการแสดงว่าเข้าไ้ด้กับภาวะ severe preeclampsia หรือไม่ observe อยู่ 2 วันผู้ป่วยก็มีอาการเจ็บครรภ์คลอด และได้ช่วยคลอดโดยการทำ vacuum extraction เพื่อลด duration of second stage แต่ในช่วงระหว่างเบ่งคลอดผู้ป่วยมีความดัน DBP > 110 mmHg ถึง 2 ครั้ง และได้ให้ยาลดความดันทางหลอดเลือดดำไป ความดันก็ลดดี ซึ่งแสดงว่าผู้ป่วยรายนี้ในช่วง intrapartum มีโอกาสเกิด hypertensive encephalopathy และนำไปสู่ภาวะ eclampsia ได้ ดังนั้นการให้ MgSO4 เพื่อป้องกันอาการชักในช่วง intrapartum น่าจะมีประโยชน์ในผู้ป่วยรายนี้ ซึ่งโดยปกติทางโรงพยาบาลของเราอาศัยการ expectation เท่านั้น

Q : การให้ MgSO4 สามารถลดอัตราการเกิด eclampsia ในช่วง intrapartum และ post partum ในผู้ป่วย mild preeclampsia ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติหรือไม่

ประเภทคำถาม : Therapy

P : ผู้ป่วย mild preeclampsia
I : ให้ MgSO4 ในช่วง intrapartum และ postpartum 24 hours
C : expectation
O : ลดโอกาสการเกิด eclampsia ไ้ด้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ



Case II ผู้ป่วยชายไทย อายุ 28 ปี

C.C. : มีอาการปวดแสบบริเวณลิ้นปี่ มา 1 สัปดาห์ ก่อนมาโรงพยาบาล

P.I. : 1 สัปดาห์ก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยมีอาการปวดแสบบริเวณลิ้นปี่ร้าวไปกลางอก มักเป็นหลังรับประทานอาหาร มีอาการเรอเปรี้ยวเป็นบางครั้ง ไม่เคยซื้อยาใดมารับประทาน อุจจาระปกติดี ปัสสาวะปกติดี

P.H. :- no underlying disese
- no drug and food allergy

P.E. :
V/S ; BP 120/80 mmHg, BT 37.2ํc, PR 90 bpm, RR 20/min
GA ; good consciousness
HEENT ; not pale, no jaundice
Heart ; normal s1 s2, no murmur
Lung ; clear both lung Rt=Lt, no pleuritic chest pain
Abdomen ; soft, mild tenderness at epigastrium, no hepatosplenomegaly
active bowel sound

Lab : EKG ; normal

ประเด็นทางคลินิก : การวินิจฉัยภาวะ Gastroesophageal reflux disease (GERD) มักอาศัยลักษณะอาการทางคลินิกและให้ยา proton pump inhibitor ไป 2 สัปดาห์ แล้วดูการตอบสนองว่าอาการดีขึ้นหรือไม่ ซึ่งถ้าอาการดีขึ้นก็จะ ให้การวินิจฉัยว่าเป็น GERD และให้การรักษาต่อตามแนวทางของ GERD ซึ่งผมมีความสงสัยว่าการให้การวิจฉัยโดยการใช้ therapeutic diagnostic นี้มีความแม่นยำมากเพียงใดเมื่อเทียบกับการทำ 24 hours pH mornitoring

Q : การใช้ PPI เป็น therapeutic diagnosis for GERD มีความแม่นยำมากเพียงใดเมื่อเทียบกับการทำ 24 hr pH mornitoring

ประเภทคำถาม : diagnosis

P : Gastroesophageal reflux disease patients
I : Proton pump inhibitor (PPI)
C : 24 hours pH mornitoring
O : Accuracy for GERD diagnosis

2 comments:

pattiya said...

case1น่าสนใจมาค่ะชายถิ
อาจจะใช้เป็นแนวทางในการดูแลผู้ป่วยต่อไปได้เลยนะเนี่ยะ

chayanee said...

case2 น่าสนใจดีค่ะ บางทีเราอาจไม่ต้องรีบDx try treat ก่อน ก็น่าจะดีนะค่ะ แจ่มค่ะ