CASE1
CC: หญิงไทยอายุ 42 ปี มาด้วยเรื่องคลำได้ก้อนที่เต้านมข้างซ้าย
PI: 1 สัปดาห์ก่อนมารพ. คลำพบก้อนแข็งที่เต้านมข้างซ้าย ไม่เจ็บ ไม่มีของเหลวออกทางหัวนม
PH: ปฏิเสธการมีโรคประจำตัว
ไม่มีประวัติแพ้ยา แพ้อาหาร
มีประวัติในครอบครัว คือยายเป็นมะเร็งเต้านม
ปฏิเสธประวัติดื่มเหล้า สูบบุหรี่
PE: V/S : BP 90/65 BT 37.0 PR 90 RR 18
HEENT : not pale , no jaundice
Heart : normal s1,s2 no murmur
Lung : clear both lungs , Lt = Rt
Breast: mass 3 cm at 1 o’ clock of left breast, firm , fix , not smooth surface ,no discharge per nipple
Abdomen : soft , not tender , no guarding , no rebound tenderness , no mass
Q : การทำ mammogram มีความแม่นยำเพียงใด เมื่อเทียบกับผลทาง pathology
ประเภทปัญหาทางคลินิก diagnosis
P:Patient 42 years old with breast cancer
I:mammogram
C:Pathlogy
O:Accuracy of diagnosis breast cancer
CASE2
CC: หญิงไทยอายุ 27 ปี มาด้วยเรื่องปวดท้องน้อยเป็นๆ หายๆ ประมาณ 3 วัน ร่วมกับมีไข้
PI: 3 วันก่อน มีอาการปวดท้องน้อยเป็นๆ หายๆ และมีไข้ร่วมด้วย ไม่มีอาการคันที่ปากช่องคลอด ตกขาวปกติ ปัสสาวะและอุจจาระปกติ
PH: ปฏิเสธการมีโรคประจำตัว
ไม่มีประวัติแพ้ยา แพ้อาหาร
ปฏิเสธประวัติดื่มเหล้า สูบบุหรี่
OB&GYN : P1-0-0-1
ประจำเดือนครั้งสุดท้าย 2wks PTA มา 5 วัน ปริมาณปกติ
ประจำเดือนมาสม่ำเสมอทุก 28 วัน ปริมาณ 5 วัน
มีเพศสัมพันธ์ครั้งแรกเมื่ออายุ 25 ปี
คุมกำเนิดโดยใช้ยาเม็ดคุมกำเนิด
PE : V/S : BP 120/70 BT 38.9 PR 100 RR 20
HEENT : mild pale , no jaundice
Heart : normal s1,s2 no murmur
Lung : clear both lungs , Lt = Rt
Abdomen : tenderness at RLQ and suprapubic area , no guarding , no rebound tenderness , no mass
PV : NIUB : normal
Vg : normal
Cx : os close , excitation cervical pain
Ut : normal size & shape
Ad : mass 5 cm and tenderness at right
Cul de sac : no bulging
Q : การให้ antibiotic สามารถใช้รักษาในผู้ป่วยรายนี้ได้หรือไม่ เมื่อเทียบกับการ surgery
ประเภทปัญหาทางคลินิก treatment
P: Patient with tubo-ovarian abscess
I:antibiotic
C:surgery
O:Treatment of tubo-ovarian abscess
7 comments:
เข้ามาชื่นชมทำตาปริบๆๆ พร้อมลุกขึ้นตบมืออออ
ช่ายๆๆไม่ให้ชื่นชมได้ไง ตัวเก็งสูเชียวนะ แปะๆๆๆๆ
ค่ะ
ตำแหน่ง massบนเต้านม ควรบอกเป็น Quadrant ดีกว่านะคะ เช่น 1 o'clock ก็ควรเป็น inner upper quadrantค่ะ
case2น่าสนใจนะ คิดว่าน่าจะระบุผู้ป่วยให้ชัดนะค่ะ เช่น Pt TOA ที่ยังไม่ rupture หรือ ขนาด mass เพราะถ้าขนาดใหญ่มาก ATB อาจจะไม่ได้ผลก็ได้ค่ะ
ดีมั่กค่ะ เป็นการทดลองที่จะเป้นประโยชน์ต่อผู้ป่วยในอนาคต และจะลดหัตถการที่ invasive ได้
ดีมั่กค่ะ เป็นการทดลองที่จะเป้นประโยชน์ต่อผู้ป่วยในอนาคต และจะลดหัตถการที่ invasive ได้
Post a Comment