Case I
PP : ชายไทยคู่ อายุ 60 ปี ภูมิลำเนา อ.สะบ้าย้อย จ.สงขลา
CC : ปวดเอวร้าวลงขามา 1 เดือน
PI : 1 เดือน PTA ปวดเอวร้าวลงมาที่ขาทั้งสองข้าง ปวดมากขึ้นเวลาเดินไกลๆ ชาปลายเท้า อาการอื่นทั่วไปปกติดี
1 สัปดาห์ PTA ปวดเอวมากขึ้น เดินได้ระยะทางสั้นลงเนื่องจากปวดจนทนไม่ไหว จึงมาโรงพยาบาล
PH : ปฏิเสธประวัติโรคประจำตัว
ปฏิเสธประวัติแพ้ยาแพ้อาหาร
ปฏิเสธประวัติการใช้ยาประจำ
ปฏิเสธประวัติดื่มเหล้า สูบบุหรี่
ปฏิเสธประวัติการได้รับอุบัติเหตุรุนแรงหรือการผ่าตัดใดๆ
PE : V/S : BT 37.4 o C, BP 115/85 mmHg, HR 100/min, RR 20/min
GA : good consciousness
HEENT : not pale, no jaundice
Heart : normal S1S2, no murmur
Lung : clear both sides, equal Lt=Rt, no adventitious sound
Abdomen : soft, not tender, no distension, no hepatomegaly, active bowel sound
Extremities : no edema, no rash, straight leg rising test positive at 60o both legs
Neurological examination
Mental status : good consciousness
Motor system : no muscular atrophy, normal movement, motor power grade V all
CN : normal
Sensory system : absent pin-prick sensation below L4
Cerebellar sign : no ataxia
DTR : 2+ all
BBS : absent
Question : Straight leg rising test มีความแม่นยำในการวินิจฉัย Spondylosis มากเท่าใด เมื่อเทียบกับ MRI
P : ผู้ที่มีอาการปวดเอว
I : Straight leg rising test
C : MRI
O : ความแม่นยำในการวินิจฉัย Spondylosis
Case II
PP : หญิงไทยคู่ อายุ 57 ปี ภูมิลำเนา อ.สะเดา จ.สงขลา
CC : ปวดศีรษะมากมา 1 สัปดาห์
PI : 1 เดือน PTA ปวดศีรษะแบบตื้อๆ ทั่วๆศีรษะ เป็นมากช่วงกลางคืนและก่อนนอน อ่อนเพลีย ตาพร่ามัว อาเจียนพุ่งหลังกินอาหาร น้ำหนักลด 5 kg กินยาแก้ปวดหัวและยาแก้อาเจียนอาการไม่ดีขึ้น
1 สัปดาห์ PTA ปวดหัวมากขึ้น อ่อนเพลีย ตามัวมากขึ้น จึงมาโรงพยาบาล
PH : ปฏิเสธประวัติโรคประจำตัว
ปฏิเสธประวัติแพ้ยาแพ้อาหาร
ปฏิเสธประวัติการใช้ยาประจำ
ปฏิเสธประวัติดื่มเหล้า สูบบุหรี่
ปฏิเสธประวัติการได้รับอุบัติเหตุทางสมองหรือการผ่าตัดใดๆ
ปฏิเสธโรคทางพันธุกรรมหรือโรคมะเร็งในครอบครัว
Personal Hx : 20 ปีก่อนมีอาชีพจัดหางานต้องใช้โทรศัพท์มือถือเป็นประจำวันละ 8 ชั่วโมง ประกอบอาชีพนี้อยู่ 10 ปี
PE : V/S : BT 37 o C, BP 120/80 mmHg, HR 110/min, RR 20/min
GA : confusion, look fatigue
HEENT : not pale, no jaundice, papilledema, no LN enlagement
Heart : normal S1S2, no murmur
Lung : clear both sides, equal Lt=Rt, no adventitious sound
Abdomen : soft, not tender, no distension, no hepatomegaly, active bowel sound
Extremities : normal movement, no edema, no rash
Neurological examination
Mental status : confusion
Motor system : no muscular atrophy, normal movement
CN I : normal smelling
CN II : pupil 3 mm, both react to light, decrease visual activity, papilledema
CN III,IV,VI : normal extraocular muscle
CN V : normal facial sensation, no weakness of muscle of mastication
CN VII : no weakness of muscle of facial expression
CN VIII : expressive dysphasia
CN IX,XI : no weakness of sternocleidomastoid and trapezius muscle
CN XII : no deviation of tongue, no fasciculation, no atrophy
Sensory system : can’t evaluate
Cerebellar sign : no ataxia
DTR : 2+all
BBS : absent
Meningeal sign : no stiffness of neck
LAB : CT : 2x2 cm mass, thick, irregular-enhancing margin with central necrotic core in the left temporal region with surrounding vasogenic edema
Dx : Glioblastoma multiforme
Question : การใช้โทรศัพท์มือถือนานๆมีปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งสมองหรือไม่
P : ผู้ที่ใช้โทรศัพท์มือถือนานๆ
I : คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า จากการรับ-ส่งสัญญาณโทรศัพท์มือถือ
C : ผู้ที่ไม่ใช้โทรศัพท์มือถือ
O : การเกิด Glioblastoma multiforme
6 comments:
case 2 คงหายากนะคะ ในคนที่ไม่ใช้ โทรศัพท์มือถือ อิอิ
เป็นอะไรที่น่าสนใจมากๆๆ
Case แรกน่าสนใจดีน้า^^
Case2
นี่ท่าทางจะควบคุมกลุ่ม Control ยากมาก เพราะถ้าจะติดตามจริงๆ คงต้องติดตามกันนานน่าดูกว่าจะได้ผลการทดลอง
#1 :: ก็น่าจะหายากนะ แต่ก็คงยังจะมีกลุ่มคนที่ไม่ใช้มือถือนะ ex คนจน ไรงี้ ==
#2-3 :: Thanks jaa
#4 :: ก็ศึกษาแบบ case-control คือเลือกคนที่เป็นโรค แล้วศึกษาย้อนกลับแบ่งกลุ่ม expose กะ non-expose.. แบบนี้ได้ป่ะ
case 2 น่าสนใจๆ เนื่องจากในปัจจุบันมีการใชโทรศัทย์มือถือกันมาก
Post a Comment