Case scenario
ผู้ป่วยชาย อายุ 25 ปี
CC : ปวดท้อง 5 hr PTA
PI : - 5 hr PTA ปวดท้องบริเวณใต้ลิ้นปี่ ไม่ร้าว
ไปที่อื่น
- 2 hr PTA ปวดท้องบริเวณใต้ลิ้นปี่ มีกอาการแน่นท้องร่วมด้วย รู้สึกว่าหลังจากกินอาหารจะอิ่มเร็วกว่าปกติ ไม่มีแสบร้อนบริเวณลิ้นปี่ ไม่เรอเปรี้ยว ไม่คลื่นไส้ ไม่อาเจียน ไม่ไข้ ถ่ายปกติ2 ครั้ง รับประทาอาหารได้ กินยาเคลือบกระเพาะ ยาแก้ปวด อาการไม่ดีขึ้น จึงมา รพ.
Past history
n Dyspepsia -> now no symptom
n Denied food/drug allergy
n Denied Hx of surgery
Physical examination
n GA : Good consciousness, no dry lips
n V/S : BT 38.0, BP 120/80, PR 80, RR 20
n Heart : Normal s1s2, no murmur
n Lung : Clear, equal breath sound
n Abd : Soft Palpable ill define mass ,
no sign of peritonitis, tender at Mcburney’s point, no
guarding, active BS
Rebound - ve, Roving - ve
Psoas – ve, Obturator – ve
n Ext : No pitting edema.
n DRE : Tender right side, no mass
Investigation
n CBC : WBC 13,000, PMN 80, L 12
Hct 39, Hb 13, Plt 280,000
n UA : Sp gr. 1.015, yellow
WBC 0-1, RBC few, Epi 1-2
Problem: ควรตรวจหาสาเหตุของอาการ Dyspepsia ในผู้ป่วยหรือไม่หรือ ทดลองใหยารักษาไปก่อน
P: Age group 35 to 85 yrs and had uncomplicatiom dyspepsia and complication dyspepsia
I: ส่องกล้องตรวจภายในทางเดินอาหารส่วนต้น ตั้งแต่แรกเริ่ม สำหรับผู้ป่วย Dyspepsia ที่มีอายุน้อยกว่า 45 ปี และ ไม่มี Alarm symmptom
C: พิจารณาส่องกล้องเพื่อตรวจหาสาเทตุโดยอาศัยข้อบ่งชี้จาก Alarm symptom
O: ผู้ป่วยอาการดีขึ้น หรือ ลดค่าใช้จ่ายในการรักษาได้ดีกว่าการรักษาด้วยยา
3 comments:
อ่อ หมายถึงtry treat โดยพวก proton pump ไรงี้ใช่ป่ะ เออตอนเรียนปีที่ 4 medอ่ะ มันมีการ treat 3 แบบใช่ป่ะ แต่ถ้าเราส่องกล้องไปเลยมันดู invasive อ่ะ โหดร้ายอ่ะขิ่น ใจร้ายยยมาก
อืม..
เห็นด้วยกับเย่นน่าจะลอง try threat ก่อน
จะได้ไม่invasive คนไข้จนเกินไป
และเราว่าตรง intervention และ comparison
มันต่างกลุ่มกันป่าว interventionใน non alarm
แต่ compare ใน alarm งงๆนิดนึง มันน่าจะcompare กับอะไรที่ทำในกลุ่ม non alarm มากว่าจะได้นำผลมาเทียบกัน หรือว่าเราม่ายเข้าใจเอง??
แต่ก็ชื่นชม น่าสนใจดี
Post a Comment