Wellcome to EBM group

ยินดีต้อนรับน้องๆทุกคนค่ะ ขอให้มีความสุขและสนุกกับการเรียนEvidence Based Medicine ของภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชนโรงพยาบาลหาดใหญ่


Staffs


20/07/2010

Assignment II กลุ่มควนเนียงงงงง

กลุ่มควนเนียงงงงงง
1.นศพ.กัณณิกา อยู่มั่น 4910310007
2.นศพ.ชนานันท์ สุขกระจ่าง 4910310027
3.นศพ.ทัตตาภา อั้นเต้ง 4910310058
4.นศพ.ธัชพันธุ์ อึงรัตนากร 4910310065
5.นศพ.รัฐสภา ทิพย์พาวัลย์ 4910310124
6.นศพ.วศิน คัมภีระ 4910310137
7.นศพ.อิทธิชัย หังสพฤกษ์ 4910310173


Case
หญิงไทยคู่อายุ 62 ปี มิลำเนา อ.ควนเนียง จ.สงขลา
CC: ปวดหัวเข่าซ้ายมา 3 เดือน ก่อน มา รพ.
PI: 3 เดือน ก่อนมา รพ.ปวดเข่าซ้าย ปวดมากขณะยืนทำอาหาร และเวลานั่งยองๆล้างจาน มีเสียงดังกรุบๆในข้อ เวลาปวดมักจะใช้ยาบีบนวด อาการดีขึ้นบ้าง ไม่เคยมีอาการเข่าบวมแดง ลงน้ำหนักเข่าด้านซ้ายได้ไม่เต็มที่
1 เดือน ก่อน มา รพ.อาการปวดเข่าซ้ายเป็นมากขึ้น และเริ่มปวดเข่าด้านขวา เคยซื้อยา paracetamol มารับประทานเมื่อหยุดกินก็จะปวดขึ้นมาใหม่
2 วันก่อนมา รพ.ปวดมากขึ้นจึงมา รพ.
PH:ต้องยืนทำงานนานๆ วันละ ประมาณ 4 ชั่วโมง
ไม่มีโรคประจำตัวใดๆ
ปฏิเสธประวัติแพ้ยาแพ้อาหาร
PE:v/s BT 37.2 c,pulse 90/min,BP 130/80 mmHg,RR 20/min
GA:good consciousness
HEENT:not pale,no icteric sclera
Heart & lungs:WNL
Abdomen:soft,not tender ,no hepatosplenomegaly
Extremities:Genu varus,Lt.proximal muscle atrophy,motor power 5+all except Lt.thigh
Crepitus both knee joint&pain on motion

ควนเนียงขออธิบาย
เนื่องจากที่โพสต์ปัญหาทางคลินิก เรื่อง Chlorhexidine vs Povidone iodine ไปครั้งที่แล้วนั้น เป็นปัญหาที่น่าสนใจมาก แต่เนื่องจาก Trial ที่ หามานั้นเป็น RCT ซึ่งกลุ่มควนเนียงนั้นได้รับมอบหมายให้หา Meta-analysis จึงได้ทำการค้นหาปัญหาใหม่

ที่มา
เนื่องจาก อ้างอิงจากปัญหาในชุมชน ควนเนียงนั้น พบว่า มีหลากหลายปัญหามากที่น่าสนใจ อาทิเช่น DHF ที่ระบาดหนักอยู่ขณะนี้ ,osteoarthritis,การใช้ Antiseptic agent ที่ต่างกัน,ผู้ป่วยที่มาด้วยอาการอ่อนเพลียและ vertigo เป็นต้น
ในการ Search หาข้อมูลที่ เป็น Evidence-based นั้น ควรมี Group ของหลายๆปัญหา และ หลายๆ Key word เนื่องด้วยขอจำกัดในการหา Meta-analysis ที่เป็น Free full text
ทางกลุ่ม จึงขอนำเสนอ ปัญหาที่พบได้บ่อย ในเวชปฏิบัติของโรงพยาบาลควนเนียง ที่พบได้บ่อยๆคือ เราทราบกันดีอยู่แล้ว ว่า
First line therapy ของ Osteoarthritis คือ Acetaminophen แต่ ในทาง Practical เรามักจะพบว่า แพทย์มักจะสั่งจ่าย NSAIDs ให้ ซึ่งในการให้ยาใน ผู้ป่วย OA ซึ่งมักจะเป็นผู้สูงอายุ จึงอาจจะทำให้เกิดอันตรายได้
ดังนั้น จึงอยากทราบว่า NSAIDs กับ Paracetamol นั้นยาไหนดีกว่ากัน ในการรักษา ผู้ป่วย OA
P:ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็น OA
I:NSAIDs
C:ผู้ป่วยที่ได้รับ Paracetamol
O:Clinical ของผู้ป่วย เช่น pain


วิธีการค้นหาข้อมูล
1.ตั้ง ปัญหาหลายๆปัญหา และหลายๆ Key word ก่อนเนื่องจากข้อจำกัดของการหาให้ได้ Free full text และเป็น Meta-analysis ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่สนใจ
2.หาข้อมูลจาก Pub Med
3..ใช้ Key word คำว่า “NSAIDs” ”Osteoarthritis” ”Paracetamol” จะพบว่า มี paper ถึง 69 paper ที่เป็น free full text
4.Limits เพิ่มเติมโดยเลือก เฉพาะ Meta-analysis ที่ เป็น Free full text จะพบว่า มี paper ที่เกี่ยวข้องเหลือ เพียง 3 paper
5.โดย Meta-analysis ที่เราเลือกนั้น ชื่อ Article คือ
A comparison of the efficacy and safety of nonsteroidal antiinflammatory agents versus acetaminophen in the treatment of osteoarthritis: a meta-analysis. จะเห็นได้ว่า แม้ว่า ทางกลุ่มจะ ใช้คำว่า Paracetamol แต่ ก็สามารถได้ article เรื่องนี้ซึ่ง ใช้คำว่า Acetaminophen ได้
6.ผู้แต่ง Lee C, Straus WL, Balshaw R, Barlas S, Vogel S, Schnitzer TJ
7.ได้รับการตีพิมพ์ลงใน Arthrtis & Rheumatism(Arthritis care & Research) Vol.51 No.5 ใน October 15,2004 page746-754
8.free full text นั้นจะถูกส่งกระจายไปทุกหัวระแหง

No comments: