Wellcome to EBM group

ยินดีต้อนรับน้องๆทุกคนค่ะ ขอให้มีความสุขและสนุกกับการเรียนEvidence Based Medicine ของภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชนโรงพยาบาลหาดใหญ่


Staffs


31/01/2011

นศพ.บุรินทร์ อรัญญพงษ์ไพศาล 5010310073

CASE SCENARIO: ชายไทย อายุ 30 ปี อาชีพก่อสร้าง

CC: อาเจียนเป็นเลือด 1 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล

PI: 1 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยมีอาการอาเจียนเป็นเลือดประมาณ 20-30 cc ไม่มีหน้ามืดวิงเวียน ไม่มีใจสั่น ไม่มีหอบเหนื่อย ซีดเล็กน้อย มีประวัติปวดแสบท้องบริเวณลิ้นปี่เป็นพักๆ หลังรับประทานอาหารหรือยาลดกรดอาการปวดก็จะดีขึ้น ช่วงหลังมีอาการปวดแสบท้องมากขึ้น

PH : no underlying disease
มีประวัติดื่มเหล้า สูบบุหรี่เป็นประจำ
ปฎิเสธประวัติการแพ้ยา แพ้อาหาร
มีประวัติการใช้ยาแก้ปวดเมื่อย
ไม่มีประวัติคนในครอบครัวเคยอาเจียนเป็นเลือดมาก่อน

PE:GA: A Thai man , good consciousness , no dyspnea
Vital signs: BT 37.0 C, HR 75 beats/min, RR 18 /min, BP 125/80 mmHg
HEENT: mild pale conjunctivae, no icteric sclerae
Heart: Normal S1, S2, no murmur, Apex beat at 5 th ICS at MCL, JVP not engorgementLung: clear both lungs
Abdomen: normal contour, tender at epigastrium , hyperactive bowel sound
Extremities: no pitting edema , pulse full ,capillary refill < 2 sec.
Lab
stool occult blood : positive
CBC : HGB 12.3 Hct 38

Question : ผู้ป่วย Peptic ulcer ที่เกิดจากmulti risk factor การให้ยากลุ่ม PPI เทียบกับกลุ่ม H2 antagonist กลุ่มใดสามารถลดการเกิด upper GI bleeding ได้ดีกว่ากัน

ประเภทปัญหาทางคลินิก:Therapy

Patient: Peptic ulcer patient with multi risk factor
Intervention: การให้ยากลุ่ม PPI
Comparison: การให้ยากลุ่ม H2 antagonist
Outcome: incidence ของการเกิด Upper GI bleeding

No comments: