Wellcome to EBM group

ยินดีต้อนรับน้องๆทุกคนค่ะ ขอให้มีความสุขและสนุกกับการเรียนEvidence Based Medicine ของภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชนโรงพยาบาลหาดใหญ่


Staffs


31/01/2011

EBM 5010310099

EBM นศพ.เพ็ญปราง สุวรรณพงษ์ 5010310099

Case ชายไทยคู่อายุ 80 ปี

CC หายใจเหนื่อยมา 4 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล
PI 3 วันก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยมีอาการไข้ ไอ มีเสมหะสีเขียว เจ็บคอ
4 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยหายใจเหนื่อยหอบมากขึ้น อ่อนเพลีย ยังมีไข้ ไอมีเสมหะอยู่ เบื่ออาหาร
ปัสสาวะและอุจจาระปกติ
PH โรคประจำตัวคือ ความดันโลหิตสูง รักษาอยู่ที่โรงพยาบาลประจำจังหวัด รับประทานยาอย่างสม่ำเสมอ
TB 20 ปีก่อน รักษาที่โรงพยาบาลประจำจังหวัด รับประทานยาครบ 6 เดือน
appendectomy ที่โรงพยาบาประจำจังหวัด เมื่อ 20 ปีก่อน
ปฏิเสธประวัติกินยาต้ม ยาหม้อ ยาลูกกลอน
ปฏิเสธประวัติแพ้ยา แพ้อาหาร
PE
General apperance A thai elderly, looked sick, dyspnea
Vital signs BT 38 C, HR 98 times/min, BP 130/80 mmHg, RR 24 times/min
HEENT mild pale conjunctiva, no icteric sclera
Heart normal S1 S2, no murmur, apical beat at 6th ICS at 2 cm away from MCL
Lung decrease breath sound at lower lobe both lung, crepitation both lung
Abdomen soft, not tender, normoactive bowel sound
Extremities no pitting edema

CXR interstitial infiltration both lower lobe and reticular lesion at left upper lobe>> suspected old TB, cardiomegaly

IMP community acquired pneumoniae

Clinical question
การใช้ Betalactamase+macrolide จะมีประสิทธิภาพในการรักษาอย่างไรเมื่อเปรียบเทียบกับ Fluoroquinolone ซึ่งเป็น fisrt line drug
PICO
P ผู้ป่วยอายุ 60 ปีขึ้นไป มีประวัติโรคประจำตัวและเคยมีประวัติเป็นวัณโรค
I การรักษาด้วย betalactamase+macrolide
C การรักษาด้วย Fluoroquinolone
O มีประสิทธิภาพในการรักษา community acquired pneumonia

No comments: