Wellcome to EBM group

ยินดีต้อนรับน้องๆทุกคนค่ะ ขอให้มีความสุขและสนุกกับการเรียนEvidence Based Medicine ของภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชนโรงพยาบาลหาดใหญ่


Staffs


31/01/2011

Case EBM นศพ.ศรวัส แสงแก้ว

EBM case หญิงไทยคู่ อายุ 32 ปี
CC : ไข้ คัดจมูก น้ำมูกไหล 7 day PTA
PI :7 day PTA มีอาการคัดจมูก มีน้ำมูกเป็นสีขาว มีอาการเจ็บคอไม่มีเสมะ ไม่มีอาการไข้
5 day PTA ยังคงมีอาการคัดจมูก น้ำมูกและเสมะเปลี่ยนเป็นสีเขียว อาการเจ็บคอมากขึ้น
เริ่มมีไข้ ผู้ป่วยจึง ไปพบแพทย์ที่คลินิก ได้รับการวินิจฉัย viral URI ได้รับยามา
รับประทาน หลังจากนั้นอาการดีขึ้น น้ำมูกลดลง ไข้ลดลง อาการเสมหะคัดจมูกดีขึ้น
2 day PTA มีอาการคัดจมูก มีน้ำมูกสีเขียว มีอาการไอเสมหะสีเขียวมีกลิ่นเหม็น มีอาการไข้สูง
ปวดศีรษะและรู้สึกหนักและปวดบริเวณใบหน้าซีกซ้าย รู้สึกตนเองมีกลิ่มปากและลมหายใจ
มีกลิ่มผิกปรกติ จึงมา รพ.
PH
- no U/D
- no drug/food allergy
- no smoking
PE
V/S BP 130/80 RR 19 /min PR 80 /min BT 39 C
GA alert,not pale ,no Jx , look sick
EENT no purulent nasal discharge per nose,postnasal drip
Moderate tender at Lt.maxilary sinus, halitosis,ear normal intact TM
Lymph node can palpable posterior cervical lymph node
Heart normal S1 S2 , no murmur
Lung clear both lung and symmetry breath sound
Abdomen soft ,not tender, normoactive bowel sound
Other intact
X-ray AP skull and water view
Lt.maxilary sinus has fluid level and thickening of perisinus soft tissue > 0.5 mm
Dx acute rhinosinusitis at Lt. maxillary sinus
Rx
- amoxicillin (500)
2 tab bid PO PC
- pseudoephidine (10)
1 tab bid PO PC
- paracetamol (500)
2 tab prn q 4 hr
- tropical nasal steroid
2 one time เช้า
Clinical Question
ในผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัย acute rhinosinusitis การใช้ tropical nasal steroid ช่วยลดระยะเวลาการเป็นโรค และช่วยลด complication ของ acute rhinosinusitis ได้หรือไม่
P : acute rhinosinusitis pt.
I : nasal tropical steroid
C : -
O : relieve symptom, duration of treatment,complication

No comments: