CC : ตาเหลืองมากขึ้นมา 5 วันก่อนมา รพ.
PI : Know caes alcoholic cirrhosis
1 เดือนก่อนมา รพ. รู้สึกอ่อนเพลีย ทานอาหารได้น้อยลง ไม่มีอาการ ไข้ ปวดท้อง หรือมีคลื่นไส้อาเจียร ปัสสาวะ อุจจาระปกติ ไม่ได้สังเกตว่ามีอาการเหลืองหรือไม่ รู้สึกว่ามีไข้ต่ำตอนกลางคืน แต่ไม่เคยวันไข้
5 วันก่อนมารพ มีคนทักว่าตาเหลือง สังเกตุว่า ปัสสาวะมีสีเหลืองเข้ม และยังมีอาการอ่อนเพลียมาก น้ำหนักลด 7 กิโลกรัมใน 1 เดือน ไม่มีอาเจียรเป็นเลือด หรือ อุจาระเป็นเลือดสด
PH: ปฎิเสธประวัติโรคประจำตัวใดๆ
ปฎิเสธประวัติการแพ้ยาหรืออาหาร
ดื่มเหล้า1 แบน และเบียร์ 2 กระป๋อง/1วัน มา 18 ปี
สูบบุหรี่วันละ 10 มวน มา 10 ปี
ปฎิเสธประวัติโรคไวรัสตับอักเสบในครอบครัว
PE: BT 37 c ,BP 120/80mmHg,RR 20/min,PR 90/min
GA: good conciousness,alcohol odor,
HEENT : mild icteric sclera, not pale , parotid gland enlargement
Chest : spider angioma, no gynecomastia,clear both lungs,no superficial vein dilatation
Abdomen : mind distension , fuid thrill positive , palpable liver 3 FB at RCM. , spleen not palpable, not tender, no garding, can't palpable mass
skin&nail : yello skin color, no clubbing
Extemities : plamar erythema
Other : WNL
IMP : Alcoholic cirrhosis R/O hepatocellular carcinoma
ประเด็นทางคลินิก : ในผู้ป่วยที่มี risk ที่จะเกิด HHC เช่น ผู้ป่วยโรคตับแข็งหรืออาการเข้าได้ จะ ทำการตรวจคัดกรองด้วยการตรวจเลือดหาค่า AFP ร่วมกับการทำ US ทุก 6 เดือน
จึงสงสัยว่าaccuracyในการdetact early-stage hepatocellular carcinom ในผู้ป่วยcirrhosis ระหว่างการตรวจ ระดับ AFP ในเลือดและการทำUS มีความแม่นยำมากเพียงใดเมื่อนำมาเปรียบเทียบกัน
คำถาม : Diagnosis
Q:การใช้ ultrasound ในการdetec early-stage hepatocellular carcinoma มีความแม่นยำมากเพียงใดเมื่อเทียบกัน การตรวจระดับ Alpha-fetoprotein ในเลือด
P: cirrhosis patient
I: การตรวจ ultrasound
C: การตรวจระดับ Alpha-fetoprotein ในเลือด
O: accuracy for detecting early-stage hepatocellular carcinama
case ที่ 2 เด็กชายไทย อายุ 3 ปี
CC : ไข้สูง มา 6 วัน ก่อนมารพ.
PI : 6 วันก่อนมารพ เริ่มมีไข้สูง หน้าแดง ปากแห้งแดง มีน้ำมูกใส ไม่ไอ ไม่เจ็บ คอ มีตาแดงทั้ง 2 ข้าง ทานอาหารได้น้อยลง คลื่นไส้ แต่ไม่อาเจียน ไม่ปวดท้อง
1 วันก่อนมารพ. ไข้ยังสูงกินยาลดไข้แล้วยังไม่ลง หน้าและปากแห้งแดงมากขึ้น มีผื่นแดงขึ้นที่ลำตัวและแขนขาทั้ง 2 ข้างไม่มีจุดเลือดออก มือและเท้าทั้งสองข้างบวมแดง อาการไม่ดีขึ้นจึงมารพ
PH : ปฎิเสธประวัติโรคประจำตัวใดๆ
ปฎิเสธประวัติแพ้ยาหรือแพ้อาหาร
ปฏิเสธไข้เลือดออกระบาดในชุมชน
ปฎิเสธประวัติเข้าป่า ลุยน้ำหรือเข้าสวน
PE : BT 39.2 c ,BP 90/60 mmHg,RR 30/min,PR 100/min
GA : good conciousness , look febrill, flushing
HEENT : non exudative bilateral conjunctival injection, lips and oral cavity include pharyngeal erythema and dry,strawberry tongue
Skin : generalize maculopapular rash at trunk and both extremities
lymphnode : left post. Cervical lymphadenopathy 2 cm
Heart : normal s1 s2 , no murmur
Extremities : erythema and edema both palms and soles
CBC : WBC 1,800 Nutrophil 50 Lymphocyte 45 HCT 38 Hb 13 plt 490,000
ESR : 45 mm/hr
CPR : 2 mg/dl
EKG : normal
Diagnosis : Kawasaki disease
Treatment : IVIG 2 mg/kg ครั้งเดียว
ASA 80 mg/kg/day
ประเด็นทางคลินิก : standard therapyในช่วง acute phase ของKawasaki disease คือsingle dose of IVIG 2 g/kg, และ Aspirine 80 to 100 mg/kg per day โดยสาเหตุของkawasaki disease ยังไม่ทราบแน่ชัด แต่เชื่อว่าเกิดการอักเสบอย่างเฉียบพลันของหลอดเลือดตามร่างกาย(self-limited acute vasculitic syndrome of unknown etiology) ซึ่งพบว่า กลุ่มโรคที่มีสาเหตุมาจาก vasculitis ส่วนใหญ่จะใช้ steroid ในการลดการอักเสบของหลอดเลือดทำให้เกิด complication จาก vaculitis ลดลงได้ จึงสงสัยว่า steroid ร่วมกับstandard therapr สามารถที่จะช่วยลดการเกิด complication ของ kawasaki disease คือ coronary artery aneurism ได้หรือไม่
Q : การให้ steroid ร่วมกับ standard treatment ในผู้ป่วยที่เป็น Kawasaki disease สามารถลดอัตราการเกิด coronary artery aneurism ได้หรือไม่
P: เด็กป่วยด้วยโรค kawasaki
I: steroid ร่วมกับ standard treatment
C: placebo ร่วมกับ standard treatment
P: ลดอัตราการเกิด coronary artery aneurism
5 comments:
เป็นคำถามที่หน้าสนใจมากค่ะท่าน
ซึ่งโดยปกติเค้าบอกว่าการรักษาด้วย steroidและ ASA ภายใน 10 วันแรกของโรค ผลการรักษาจะดีมากและยังลดอัตราเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนได้ด้วย
ในเคสแรกน่าสนใจดีคับ เพราะการทำ U/S และการเจาะ AFP เพื่อหา hepatocellular carcinoma ซึ่งจะทำควบคู่กัน แต่เมื่อมาคิดแยกว่าเครื่องมือไหนดีกว่า จึงเป็นสิ่งที่น่าสนใจ เพราะบางโรงพยาบาลอาจมีเครื่องมือบางเครื่องมือ
ทำให้การวินิจฉัยโรคผิดไปได้
case แรกน่าสนใจ เพราะจากประเด็นของการทำ u/s ร่วมกับ AFP ในการ diagnosis ทั้งๆที่ ทั้งสองอย่างนี้มีค่า sent.และ spec. ที่แตกต่างกัน ดังนั้นหากการแยก diacnosis จะเป็นประโยชนืต่อผู้ป่วยหรือไม่
case แรก เป็นcirrhosis เหมือนกันเลย
อันนี้ก้อน่าสนใจน่าจะเอามาเปรียบเทียบกับเคสเราด้วย
Post a Comment