Case 1: diagnosis
หญิงไทยคู่ อายุ 23 ปี
CC: แพทย์นัดมาผ่าตัด
PI: 1 yr PTA มีอาการปวดท้องน้อยทั่วๆ ปวดบีบๆ เป็นๆหายๆ ไม่ปวดร้าวไปตำแหน่งอื่น มักปวดก่อนมีประจำเดือน 1 สัปดาห์ จนถึง หลังมีประจำเดือน 2-3 วัน
2 mo PTA คลำได้ก้อนที่ท้องน้อยด้านซ้าย ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2 cm. ก้อนไม่เจ็บ ยังคงมีอาการปวดท้องมากขณะมีประจำเดือน กินยาแก้ปวดท้องประจำเดือนแล้วอาการดีขึ้น ไม่มีอาการปวดขณะมีเพศสัมพันธ์
10 d PTA คลำได้ก้อนโตมากขึ้นที่บริเวณท้องน้อย มีอาการปวดท้องมากขึ้นขณะมีประจำเดือน ปริมาณประจำเดือนไม่มากขึ้นจากเดิม ไม่มีตกขาวหรือเลือดออกผิดปกติทางช่องคลอด ไม่มีเบื่ออาหารหรือน้ำหนักลด ผู้ป่วยกังวลเกี่ยวกับก้อนที่โตมากขึ้นจึงไปโรงพยาบาล แพทย์ตรวจพบก้อนขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 10 cm. กดเจ็บที่ท้องน้อยด้านซ้าย ตรวจภายในพบขนาดมดลูกโตขึ้น จึงส่งตัวมารพ.หาดใหญ่
PH: No underlying disease
No food/drug allergy
No smoking/drinking
Ob & GYN history:
มีประจำเดือนครั้งแรกอายุประมาณ 12 ปี รอบเดือนสม่ำเสมอทุก 28 วัน ครั้งละ 5 วัน ใช้ผ้าอนามัย 2-3 แผ่นต่อวัน ไม่มีอาการปวดท้องน้อยเมื่อมีประจำเดือน
แต่งงานมาแล้ว 4 ปีเคยกินยาคุมกำเนิดมาประมาณ 2 ปี หลังจากนั้นไม่ได้คุมกำเนิด แต่ไม่มีการตั้งครรภ์
LMP 25 เมษายน 2553
PE: V/S: BT 37°C, RR 20 /min, PR 83 /min, BP 120/90 mmHg
GA: Thai woman, good consciousness
HEENT: not pale, no jaundice
Heart & Lung: within normal limit
Abdomen: soft, no guarding, no rebound tenderness, mass Ø 10 cm., fix, firm consistency, smooth surface, mild tenderness at mass
PV: MIUB: normal
Vagina: no discharge, no lesion
Cervix: os closed, no bleeding, no cervical motion tenderness
Uterus: enlarge ~ 16 weeks size
Adnexa: mark tenderness at left, no mass
คำถาม: การวินิจฉัยendometriosisโดยใช้clinical symptoms มีความแม่นยำเพียงใดเมื่อเทียบกับการทำlaparoscopy
P: ผู้ป่วยที่สงสัยว่าเป็น endometriosis
I: laparoscopy
C: clinical diagnosis
O: ความแม่นยำในการวินิจฉัย endometriosis
Case 2: treatment
หญิงไทยคู่ อายุ 20 ปี G1P0 GA 36 weeks
CC: เจ็บครรภ์คลอด 1 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล
PI: 1 ชั่วโมงก่อน มีอาการเจ็บครรภ์คลอด โดยปวดถี่มากขึ้นและปวดรุนแรงขึ้น ร่วมกับมีน้ำเดิน โดยผู้ป่วยรู้สึกว่ามีน้ำไหลเปื้อนผ้าและมีมูกเลือดปนเล็กน้อย จึงมาโรงพยาบาล
PH: No underlying disease
No food/drug allergy
No smoking/drinking
PE: V/S: BT 37.1 °C, PR 76 /min, RR 20 /min, BP 137/95 mmHg
BW 57.7 kg, Ht 158 cm.
GA: good consciousness, well cooperate
HEENT: not pale, no jaundice
Heart & Lung: within normal limit
Abdomen: FH ¾ > umbilicus, fetal position OR, FHS 160 /min, EFW 2300 g.
Ext.: no pitting edema
PV: Dilatation 3 cm, Effacement 100 %
Membrane leakage, Station -2
Presentation vertex, Position middle
Amniotic fluid: grossly seen, clear
Urine albumin & urine sugar: negative
คำถาม: การรักษา asymptomatic UTI สามารถลดการเกิด preterm labor ได้จริงหรือไม่
P: ผู้ป่วย pregnancy with asymptomatic UTI
I: การรักษา asymptomatic UTI
C: ไม่รักษา asymptomatic UTI
O: การเกิด preterm labor
3 comments:
case 2 เป็นเรื่องที่น่าสนใจ เพราะคนท้องที่เป็น asymtomatic UTI มักไม่รู้ตัว (ชื่อก็บอกอยู่ว่า asymtomatic)หากการศึกษาพบว่าasymtomatic UTI มีผลต่อการทำให้เกิด preterm labor จริง ก็อาจทำให้มีการตื่นตัวเรื่องการ screening asymtomatic UTI มากขึ้นเพื่อนำคนไข้ไปสู่การรักษาและลด preterm labor
อืมน่าสนใจดีเรื่องasymtomatic UTI เราเคยออกANCแม่แดงเขาบอกว่าทำให้เกิดpreterm labor ได้จริงเหมือนที่ปัตติยาบอก แล้วการtreat ก้ไม่แพงด้วยให้แค่ amoxy
case1 น่าสนใจว่าการใช้ clinical symptom จะช่วยวินิจฉัย ได้มากแค่ไหน อาจจะนำไปใช้ทาง clinical ลดการทำ laparo โดยไม่จำเป็นค่ะ
Post a Comment