Wellcome to EBM group

ยินดีต้อนรับน้องๆทุกคนค่ะ ขอให้มีความสุขและสนุกกับการเรียนEvidence Based Medicine ของภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชนโรงพยาบาลหาดใหญ่


Staffs


06/07/2010

Assignment1 นศพ.สุภาพันธ์

Case2
หญิงอายุ55ปี อาชีพรับจ้าง
CC: ปวดท้อง10ชั่วโมงPTA
PI:10 hr PTA มีอาการปวดท้องมากบริเวณลิ้นปี่ ปวดบิดๆ ไม่ร้าวไปที่ใด ไม่สัมพันธ์กับมื้ออาหาร เป็นๆหายๆ ไม่เคยเป็นเช่นนี้มาก่อน ไปพบแพทย์ที่คลินิคได้ยา ranitidineกับ Buscopan อาการไม่ดีขึ้น ยังปวดพักๆ ขยับตัวแล้วปวดมากขึ้น คลื่นไส้ อาเจียน ไม่ถ่าย ไม่ผายลม อาการไม่ดีจึงมาพบแพทย์

PH:ไม่มีโรคประจำตัว
เคยผ่าตัดไส้ติ่ง

PE: V/S37.4c RR 24/min PR80/min BP110/80
HEENT: not pale, no jaundice
Heart: normal s1s2 no murmur
Lung:clear both lung
Abdoment: surgical scar at RLQ, soft, mild distension, generalize tenderness,increase bowel sound

Investigate: Hct40% WBC8000 N 75% Plt 380000
UA : pH7 sp.gr1.025
film acute abdoment: supine-Proximal dilate in small bowel
upright-diferent fluid level in the same loop

Im: small bowel obstruction

คำถามประเภท diagnosis: การใช้ acute abdomen seriesในการวินิจฉัย gut obstruction มีความแม่นยำมากน้อยเพียงไรเมื่อเทียบกับ CT abdomen

P: ผู้ป่วยที่เป็น gut obstuction
I: acute abdoment series
C: CT abdomen
O: ความแม่นยำในการวินิจฉัย gut obstruction

3 comments:

นศพ.เปรียบดาว เพชรรัตน์ said...

น่าสนใจดีค่ะ แต่ว่าการทดลองก็อาจขึ้นกับผู้อ่าน film abdomen ด้วยค่ะ เพราะบางที gut obstuction ที่มี film เห็นชัดเจน ที่อาจารย์เห็นปั๊บก็ตอบได้ แต่ตอนสอบ พวกเราๆก็ยัง Diag กันไม่ถูกเท่าไหร่เลย ถ้าอาจารย์อ่าน film แล้วนำมาเทียบกับ CT อย่างนี้ความแม่นยำของ film abdomen คงสูงขึ้นน่าดู

nuanmai said...

อืมม....
บางfilm ก็ดูง่าย บาง film ก็ดูยาก (ไม่รู้เรื่อง)

ชนิดา ศักดิ์เพชร said...

เป็นเรื่องที่น่าสนใจค่ะ ในการ diag gut obstruct เพราะเป็นหนึ่งกลุ่มโรคที่พบบ่อย และเครื่อง X-ray ก็มีทุกโรงพยาบาล สามารถใช้ประโยชน์ได้จิง แต่ก็เห็นด้วยกับความคิดเห็นที่ 1 ตรงที่ความแม่นยำในการวินิจฉัยก็ขึ้นกับความชำนาญของผู้ที่อ่านฟิล์ม และปริมาณ obsruction ในผู้ป่วยแต่ละคน ถ้าเป็นcomplete อาจเห็น sign ต่างๆชัดเจนกว่า partial