Wellcome to EBM group

ยินดีต้อนรับน้องๆทุกคนค่ะ ขอให้มีความสุขและสนุกกับการเรียนEvidence Based Medicine ของภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชนโรงพยาบาลหาดใหญ่


Staffs


04/07/2010

assignment 1 นศพ.กัญญารัตน์ เลิศวาจา

case1
ผู้ป่วยหญิง G1P0 GA 40 wks
CC:เจ็บท้องคลอด 4 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล
PI: ณ ห้องคลอด ผู้ป่วย กำลังเบ่งคลอด หลังจากปากมดลูกเปิดหมดแล้ว second stage ใช้เวลาไป 1ชั่วโมง 45 นาที เด็กทารกที่คลอดออกมามีภาวะ caput succedaneum RR 80/min มีsubcostal retraction ตัวอ่อนปวกเปียก ผิวหนังที่มือและเท้าออกสีคล้ำๆไม่ค่อยชมพู มี grimace เมื่อดูดสิ่งคัดหลั่ง HR 120/min
Q: การใช้ APGAR score ในนาทีที่ 1 กับการใช้ APGAR score ในนาทีที่ 5 ที่เวลาใดสามารถบอกภาวะ birth asphyxia ได้แม่นยำกว่ากัน
ประเภทคำถาม: diagnostic
P:newborn
I:ใช้ APGAR score ในนาทีที่ 1
C:ใช้ APGAR score ในนาทีที่ 5
O:ความแม่นยำในการdiagnosis ภาวะ birth asphyxia

case2
ผู้ป่วยหญิงตั้งครรภ์อายุ 25 ปี G1P0 GA 38 wks by LMP
CC: มาด้วยอาการน้ำเดิน 6 hrs PTA
PI: 6 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล พบว่ามีน้ำใสๆจำนวนมากไหลออกมาทางช่องคลอดจนชุ่มผ้าถุง ผู้ป่วยมีอาการท้องแข็งนานๆครั้ง ไม่มีมูกเลือดออกทางช่องคลอด แพทย์ให้ syntocinon drip และ monitor EFM พบว่า contraction เริ่มถี่ขึ้นเรื่อยๆ เมื่อผ่านไปอีก 6 hrs ปากมดลูกยังเปิดแค่ 6 cm. น้ำคร่ำยังไม่มีกลิ่นเหม็น
PH:-ไม่มีประวัติโรคประจำตัวใดๆ
ไม่มีประวัติแพ้ยาแพ้อาหาร
PE :
Vital signs : BT 36.7 c, RR 16/min, PR 110/min, BP 110/70 mmHg
GA : counsciousness
HEENT : mild pale, no jaundice
Heart : normal S1,S2, no murmur
Lung : clear both lungs,no adventitious sound
Abdomen: FH 3/4>umbilicus,no uterine tenderness
FHS:140/min
สิ่งที่ทำให้อยากเรียนรู้:ขณะที่อยู่ LR roundกับอาจารย์ท่านหนึ่งซึ่งจะให้ ATB ก็ต่อเมื่อมีอาการของchorioamnionitisแล้ว คือจะใช้ATBในการ treatment เท่านั้น ได้มีโอกาสroundกับอาจารย์อีก 2 ท่าน ซึ่งมีแนวคิดที่จะให้ATBในการ prophylaxis แต่ให้ในเวลาที่ต่างกันคือ 12และ24 ชั่วโมง จึงอยากรู้ว่าจริงๆแล้วควรเริ่มให้เวลาใดจึงจะดีที่สุดและมีประโยชน์มากกว่าโทษ
Q: การให้ampicilinในหญิงตั้งครรภ์ที่มีน้ำเดินน้อยกว่า 24 ชั่วโมงสามารถลดการเกิด neonatal sepsis ได้จริงหรือไม่
ประเภทคำถาม: Therapy
P: ทารกครรภ์ครบกำหนดในหญิงตั้งครรภ์ที่มีน้ำเดินน้อยกว่า 24 ชั่วโมง
I: การให้ ampicilin
C: ไม่ให้ ampicilin
O: การเกิด neonatal sepsis

3 comments:

Rattasapa Thippawan said...

คำถามเก๋มาก แต่ว่า case 1 มันจะไม่ค่อยแม่นยำน่ะจ๊ะ ถ้าเกิดว่ามารดาได้รับ sedation หรือ analgesic แบบแรงมาก่อน ทำให้ Low apgar ได้ ซึ่งจริงๆๆ เด็กอาจจะเป็นเด็กดี แต่โดนมอมยา จน apgar ต่ำเลยกลายเป็นเด็ก perinatal asphyxia ไป

Kunnika Yumun said...

-เห็นด้วยกับเต๋านะว่า ถ้าโดน sedate มาก่อน อาจมีผลต่อ apgar ได้
-ส่วนcase 2 เราเองก็อยากรู้เหมือนกันว่า มันควรให้ prphylaxis ไปก่อน หรือว่าจะรอให้ มี sign ของ chorioamnionitis ก่อนแล้วค่อยให้ มันจะไม่สายไปหน่อยเหรอ

nuanmai said...

เห็นด้วยเฟินนะว่า case 2 น่ะ.ให้เมื่อไรกันแน่ อาจารย์บางท่านให้ตั้งแต่ชม.แรกที่PROM บางท่านถ้าแม่ดูดีไม่มีไข้ ก็ไม่ให้