Wellcome to EBM group

ยินดีต้อนรับน้องๆทุกคนค่ะ ขอให้มีความสุขและสนุกกับการเรียนEvidence Based Medicine ของภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชนโรงพยาบาลหาดใหญ่


Staffs


15/09/2014

EBM โรงพยาบาลควนเนียง Systematic review

CASE   เด็กหญิงไทยอายุ 14 ปี

CC : หอบเหนื่อย 2 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล

PI :  2 วันก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยไอและมีเสมหะเล็กน้อย ไม่มีไข้ อาการเป็นมากขึ้น
2ชม.ก่อนมารพ.เริ่มมีอาการหอบเหนื่อย หายใจเร็ว มารดาจึงพามาโรงพยาบาล
PH: ผู้ป่วยมีประวัติหอบเมื่ออายุ 7 ปี มารดาพามาพ่นยาที่โรงพยาบาลควนเนียง หลังจากนั้นไม่มีอาการ จะมีอาการน้ำมูกไหล จาม คัดจมูกเป็นประจำสัมพันธ์กับอากาศเย็น ไม่ได้ใช้ยาประจำ


PE:
V/S : BT 37.3 PR 100/min RR 24/min BP 110/80 mmHg
GA: A thin Thai girl 14 yr, look dyspnea
HEENT : nasal flarin, suprasternal notch retraction, not pale, no icteric sclera, anterior lymph node enlargement, no injected pharynx
Heart : no cyanosis, normal S1S2, no murmur, capillary refill < 2 sec
Lung: normal movement, no Kussmaul breathing, wheezing both lungs
Abdomen : normal contour, normoactive bowel sound, soft, not tender
Extremities : no rash, no skin lesion
Neurology : intact

คำถามงานวิจัย
การรักษา asthmatic attack ในเด็กด้วยการพ่น ventolin ทำให้ผู้ป่วยรับการรักษาในโรงพยาบาลน้อยกว่าการพ่น berodual

PICO
P: ผู้ป่วยเด็กที่เป็น asthmatic attack
I: shot-acting beta-agonists
C: anticholinergic and shot-acting beta-agonists
O: hospital admissions

การค้นหางานวิจัย
1.ใช้ The Cochrane library เป็น search engine
2.Search Title/Abstract/keyword ด้วยคำว่า asthma children anticholinergic
3.There are 8 results from 8647 records in Cochrane Reviews'
4.เลือกงานวิจัยลำดับที่สอง
"Combined inhaled anticholinergics and short-acting beta2-agonists for initial treatment of acute asthma in children"
Benedict Griffiths and Francine M Ducharme
Online Publication Date: August 2013

http://onlinelibrary.wiley.com/doi/10.1002/14651858.CD000060.pub2/pdf


2 comments:

sosoap said...
This comment has been removed by the author.
sosoap said...

โดยรวมคิดว่าเป็นเรื่องที่น่าสนใจดีนะเพราะผลสรุปที่ได้จากการอ่านงานวิจัยน่าจะมีประโยชน์ในการตัดสินเลือกการรักษาแก่ผู้ป่วยในอนาคต
มีส่วนของคำถามตัว person อ่า คือไม่แยกว่าเป็น attack ครั้งแรกหรือครั้งหลังช่ายป่าว มันอาจจะมีผลลัพธ์ต่างกันป่าว^^" ถ้าทำให้แคบลงอาจจะดีขึ้น