Wellcome to EBM group

ยินดีต้อนรับน้องๆทุกคนค่ะ ขอให้มีความสุขและสนุกกับการเรียนEvidence Based Medicine ของภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชนโรงพยาบาลหาดใหญ่


Staffs


20/07/2010

Assessment II กลุ่มจะนะ...นะจ๊ะ

Assignment II กลุ่มจะนะ...นะจ๊ะ
วันอังคารที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2553


รายชื่อสมาชิกกลุ่ม
นศพ.ชญาณี เก้าเอี้ยน รหัสนักศึกษา
4910310023
นศพ.ชนิดา ศักดิ์เพชร รหัสนักศึกษา
4910310028
นศพ.ทิพวดี สิทธิบุศย์ รหัสนักศึกษา
4910310059
นศพ.นวลไหม เอ่งฉ้วน รหัสนักศึกษา 491031074

นศพ.เปรียบดาว เพชรรัตน์ รหัสนักศึกษา 4910310095
นศพ.พิมพกานต์ ตันติธรรมวงศ์ รหัสนักศึกษา
4910310105
นศพ.สุภาพันธ์ ไถ่ทอง รหัสนักศึกษา 4910310159


CASE SCENARIO:ชายไทยคู่ อายุ 65 ปี
CC: หอบเหนื่อย 20 นาทีก่อนมาโรงพยาบาล

PI: 20 นาทีก่อนมาโรงพยาบาล มีอาการหอบเหนื่อยขณะเดินจูงวัวไปกินหญ้า หลังจากนั่งพักแล้วรู้สึกดีขึ้นบ้าง ที่บ้านนอนราบไม่ได้ ต้องนอนหนุนหมอน 2 ใบ ลุกขึ้นมาหอบตอนกลางคืนเป็นบางครั้ง มักหอบเหนื่อยหลังจากทำงาน และมีอาการไอมานาน เป็นๆ หาย ๆ หลายปี มีเสมหะสีขาวใสตอนเช้า ไม่มีเลือดปน ไม่มีไข้ ปัสสาวะ อุจจาระปกติ

PH : Underlying disease : COPD 5 ปี

สูบใบจาก มานานกว่า 20 ปี วันละประมาณ 10 มวน ตอนนี้ลดเหลือวันละ 1-2 มวน

Social drinking

มีมารดาเป็นโรคเบาหวาน เสียชีวิตแล้ว

ปฎิเสธประวัติการแพ้ยา แพ้อาหาร

ปฎิเสธประวัติการใช้ยาต้มยาหม้อ ยาลูกกลอน

PE:

GA: A Thai man, look dyspnea

Vital signs: BT 37.2 C, HR 110 beats/min, RR 32/min, BP 125/80 mmHg
HEENT: Not pale conjunctivae, no icteric sclerae, assessory muscle used

Heart: Normal S1, S2, no murmur, Apex beat at 5th ICS at MCL, JVP not engorgement

Lung: crepitation both lungs
Abdomen: soft, not tender, no distention, no hepatosplenomegaly,Active bowel sound

Extremities: pitting edema 1+, pulse full ,capillary refill <>

Chest X-ray : perihilar infiltration

Question : ปกติแพทย์มักไม่ให้ β -blocker ในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ ที่มี COPD เนื่องจากกลัวว่าอาจเกิดผลข้างเคียงต่อทางเดินหายใจ ทางกลุ่มจึงสงสัยว่าการใช้ยา β -blocker มีผลต่อ mortality ของผู้ป่วย COPD อย่างไร (เพื่อที่อนาคตจะได้พิจารณาให้ยากลุ่ม β –blocker ในผู้ป่วย CHF ที่มีโรค COPD ร่วมด้วย)

ประเภทปัญหาทางคลินิก:Prognosis
Patient:Patient age > 45 years with U/D COPD
Intervention: β -blocker used
Comparison: no β-blocker used

Outcome: Mortality rate of patient

แนวทางการค้นหาข้อมูล:
web-base resources ที่เลือกใช้ ได้แก่ Pubmed
MeSH Database
คำหรือรูปแบบที่ใช้ในการค้นหา ได้แก่ "Adrenergic beta-Antagonists"[Mesh] AND "Pulmonary Disease, Chronic Obstructive"[Mesh]

Article ทั้งหมด: 102 article

Limit: only items with links to full text, Humans, English, Core clinical journals, Middle Aged + Aged: 45+ years, published in the last 5 years

จำนวน Articles ที่เกี่ยวข้องที่ปรากฏ = 8 Articles

ชื่อ Article ที่เลือกอ่านเพื่อตอบปัญหาทางคลินิก: Blockers May Reduce Mortality and Risk of Exacerbations in Patients With Chronic Obstructive Pulmonary Disease.

ชื่อเรื่อง Blockers May Reduce Mortality and Risk of Exacerbations in Patients With Chronic Obstructive Pulmonary Disease,2010

ชื่อผู้แต่ง: Frans H. Rutten, MD, PhD; Nicolaas P. A. Zuithoff, MSc; Eelko Hak, MSc, PhD;

Diederick E. Grobbee, MD, PhD; Arno W. Hoes, MD, PhD

ชื่อวารสาร: ARCHIVES OF INTERNAL MEDICINE

1 comment:

Hathaitip Tumviriyakul said...

อาจารย์ยังไม่ได้รับ paper ค่ะ