Wellcome to EBM group

ยินดีต้อนรับน้องๆทุกคนค่ะ ขอให้มีความสุขและสนุกกับการเรียนEvidence Based Medicine ของภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชนโรงพยาบาลหาดใหญ่


Staffs


07/07/2010

Assignment 1 ทิพวดี สิทธิบุศย์

Assignment 1
ผู้ป่วยชาย อายุ 28 ปี
c.c. คัดจมูกมากมา 1 วัน
P.I. 1 ว้นก่อนมาร.พ. มีอาการคัดจมูกมาก มีน้ำมูกใสเล็กน้อย ไม่มีไข้ ไม่ไอ ไม่เจ็บคอ รู้สึกหายใจไม่สะดวกจึงมาร.พ.
P.H. เป็นโรค allergic rhinitis ตังแต่ 10 ขวบ ต้องใช้ steroid พ่นจมูกมาประมาณ 2 ปี
ไม่มีประวัติแพ้ยาและอาหาร
PE good conscious
HEENT : not palr , no jaundice
nose : swelling , clearly discharge , purplish Inferior turbinate
Heart : normal s1.s2 , no murmur
Lung : Clear , normal breath sound
Ext. : no pitting edema

ปัญหาของผู้ป่วยรายนี้คือ มีอาการคัดจมูกเป็นประจำ ช่วงหลังอาการเป็นมากขึ้นต้องใช้ nasal steroid พ่นทุกวัน

การออกกำลังกายร่วมกับการใช้ยา cetirizine มีประสิทธิภาพในการรักษา Allergic rhinitis ดีกว่า การใช้ Cetirizine รักษา AR เพียงอย่างเดียว
1 Population : ผู้ป่วย AR (adult)
2. Intervention : การออกกำลังกายอย่างน้อยวันละ 30 นาที ร่วมกับการใช้ยา Cetirizine
3.Comparison : ผู้ป่วยที่ได้ยา Cetirizine เพียงอย่างเดียว
4.Outcome : อัตราการเกิด AR ในกลุ่มที่ออกกำลังกายและใช้ยา น้อยกว่าในกลุ่มที่ได้ยาเพียงอย่างเดียว



ผู้ป่วยชายไทย อายุ 65 ปี
c.c. มีอาการหอบเหนื่อยมากมา 4 ชม.ก่อนมาร.พ.
P.I. 4 ชม.ก่อนมาร.พ.รู้สึกเหนื่อยมากขึ้น ต้องใช้แรงในการหายใจมาก เดินได้ประมาณ 4-5 ก้าว ไม่มีไข้ ไม่มีไอ ไม่มีเสมหะ
P.H. สูบบุหรี่วันละ 2 ซอง มา 20 ปี
เป็นโรคถุงลมโป่งพองมา 3 ปี
ไม่มีประวัติแพ้ยา แพ้อาหาร
PE. Good consciousness
HEENT not pale , no jaundice
no central cyanosis
Heart : normal s1,s2 , no murmur
Lung : clear , decrease breath sound both lungs , hyperresonance on percussion both lungs
abdomen : soft ,not tender , no guarding
Ext. : no pittng edema

ปํญหาของผู้ป่วยรายนี้คือ เป็นโรคถุงลมโป่งพอง



การวินิจฉัย COPD โดยการใช้ CAT Score มีความแม่นยำเพียงใดเมื่อเทียบกับการวินิจฉัย COPD โดยใช้ Gold criteria
1. population : ผู้ป่วย COPD
2. Intervention : การวินิจฉัย COPD โดยใช้ CAT score โดยการตอบคำถาม 8 ข้อ
3. Comparison : การวินิจฉ้ัย COPD โดยใช้ Gold criteria
4. Outcome : ผลการวินิจฉัย COPD ด้วย CAT score มี accuracy, senstivity and specificity ไม่แตกต่างจากการวินิจฉัยน COPD โดยการใช้ Gold criteria

6 comments:

Unknown said...

ขอแสดงความคิดเห็นเคสแรกนะ
จากโจทย์ ผู้ป่วยเป็น AR และใช้ nasal steroid แต่ไม่มีบอกว่าใช้ cetirizine ซึ่งเป็น 2-gen-antihistamine ดังที่ตั้งคำถาม ควรจะบอกข้อมูลด้วย และหากใช้ร่วมกับ steroid ไม่แน่ใจว่าควรจะควบคุมด้วยหรือไม่ เพราะมีผลต่อประสิทธิภาพการรักษาเช่นเดียวกัน
ในส่วนคำถามตั้งได้ดี แล้ว แต่อยากให้เพิ่มเป็นคำถามให้ชัดเจนมากกว่านี้ เช่น
ผู้ป่วย AR ที่รักษา ด้วย Cetirizine เพียงอย่างเดียว กับ รักษา โดยใช้การออกำลังกาย ร่วมกับการใช้ยา cetirizine อย่างไหนจะมีผลต่อประสิทธิภาพในการรักษามากกว่ากัน
ไม่แน่ใจในส่วนของ outcome จะวัดเป็นอัตราการเกิด AR or ประสิทธิภาพการรักษา เช่น อาการหวัดลดลง

Unknown said...

ขอแสดงความคิดเห็นเคสแรกนะ
จากโจทย์ ผู้ป่วยเป็น AR และใช้ nasal steroid แต่ไม่มีบอกว่าใช้ cetirizine ซึ่งเป็น 2-gen-antihistamine ดังที่ตั้งคำถาม ควรจะบอกข้อมูลด้วย และหากใช้ร่วมกับ steroid ไม่แน่ใจว่าควรจะควบคุมด้วยหรือไม่ เพราะมีผลต่อประสิทธิภาพการรักษาเช่นเดียวกัน
ในส่วนคำถามตั้งได้ดี แล้ว แต่อยากให้เพิ่มเป็นคำถามให้ชัดเจนมากกว่านี้ เช่น
ผู้ป่วย AR ที่รักษา ด้วย Cetirizine เพียงอย่างเดียว กับ รักษา โดยใช้การออกำลังกาย ร่วมกับการใช้ยา cetirizine อย่างไหนจะมีผลต่อประสิทธิภาพในการรักษามากกว่ากัน
ไม่แน่ใจในส่วนของ outcome จะวัดเป็นอัตราการเกิด AR or ประสิทธิภาพการรักษา เช่น อาการหวัดลดลง

Unknown said...

ขอแสดงความคิดเห็นเคสแรกนะ
จากโจทย์ ผู้ป่วยเป็น AR และใช้ nasal steroid แต่ไม่มีบอกว่าใช้ cetirizine ซึ่งเป็น 2-gen-antihistamine ดังที่ตั้งคำถาม ควรจะบอกข้อมูลด้วย และหากใช้ร่วมกับ steroid ไม่แน่ใจว่าควรจะควบคุมด้วยหรือไม่ เพราะมีผลต่อประสิทธิภาพการรักษาเช่นเดียวกัน
ในส่วนคำถามตั้งได้ดี แล้ว แต่อยากให้เพิ่มเป็นคำถามให้ชัดเจนมากกว่านี้ เช่น
ผู้ป่วย AR ที่รักษา ด้วย Cetirizine เพียงอย่างเดียว กับ รักษา โดยใช้การออกำลังกาย ร่วมกับการใช้ยา cetirizine อย่างไหนจะมีผลต่อประสิทธิภาพในการรักษามากกว่ากัน
ไม่แน่ใจในส่วนของ outcome จะวัดเป็นอัตราการเกิด AR or ประสิทธิภาพการรักษา เช่น อาการหวัดลดลง

Tipwadee said...

วัดเป็นอัตราการเกิดค่ะ ว่าหลังจากรักษาด้วยวิธีทั้งสองแล้วแบบไหนจะเกิดอาการบ่อยกว่ากัน ไม่ได้เอาประสิทธิภาพของการรักษา

Onnida said...

Case : COPD น่าสนใจดีนะค่ะ ถ้าได้ผลจริงก้อสามารถช่วยให้การรักษาแม่นยำขึ้น อีกอย่างก้อไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการทำ spirometry ด้วย

Tipwadee said...

ถ้าความแม่นยำมากเท่าๆกับการใช้ Gold criteria ก็จะสามารถ treat COPD ได้ง่ายขึ้นมากเพราะเป็นการตอบคำถามแค่ 6 ข้อ ขอบคุณสำหรับคอมเมนท์นะคะ