Wellcome to EBM group

ยินดีต้อนรับน้องๆทุกคนค่ะ ขอให้มีความสุขและสนุกกับการเรียนEvidence Based Medicine ของภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชนโรงพยาบาลหาดใหญ่


Staffs


05/07/2010

Assignment 1 นศพ.ชนิดา ศักดิ์เพชร Case 2

CASE 2
เด็กชายไทย อายุ 6 เดือน
CC: ถ่ายเป็นเลือด 2 hr PTA
PI: 10 hr PTA มีอาการอาเจียนเป็นนมที่กิน กินข้าวและนมไม่ได้ หลังจากนั้นเริ่มมีอาการร้องไห้งอแง ปวดท้อง
2 hr PTA มีถ่ายเป็นเลือดสด เป็นน้ำปนเนื้อ 1 ครั้ง ประมาณครึ่งแก้วน้ำ ไม่มีไข้ ปัสสาวะครั้งสุดท้าย 1 hr PTA ลักษณะปกติ
PH: no U/D
No food & drug allergy
ไม่เคยได้รับอุบัติรุนแรง
รับวัคซีนครบตามนัดที่อนามัยใกล้บ้าน
กินนมผสม 6 มื้อ กินข้าว 1 มื้อ
พัฒนาการสมวัย
PE: V/S BT 36.9 PR 120 RR 48 BP 90/70
HEENT : not pale , no jaundice , mild dry lips
Heart : normal s1,s2 no murmur
Lung : clear both lungs , Lt = Rt
Abdomen : generalize tenderness , no guarding , no rebound tenderness , sausage shape mass at RLQ 3 cm.
Investigation
CBC: normal
UA: normal
Barium enema : intussusception
Tx: Pneumatic reduction
Q : Pneumatic reduction สามารถลด morbidity ได้เท่าใดเมื่อเทียบกับ surgery
ประเภทปัญหาทางคลินิก treatment
P: ผู้ป่วยเป็น intussusception
I: Pneumatic reduction
C: surgery
O: morbidity after treatment in intussusception

4 comments:

นศพ.ธัชพันธุ์ อึงรัตนากร said...

โดยภาพรวมทำได้ดีแล้ว
แต่ว่าในส่วนของ P: ผู้ป่วยเป็น intussusception
อาจจะ specific ลงไปหน่อย เช่น ผู้ป่วย "เด็ก" หรือเป็นช่วงอายุอะไรทำนองนี้อ่ะจ๊ะ...^^

nuanmai said...

อืมม..น่าสน

Supapun said...

ควรระวังcomplicationจากการเป่าลมด้วยนะ

Thirawat Jewpakanon said...

ดีครับน้องแพนเค้ก
เพราะถ้าการทำ pneumatic reduction
มีผลดี ก็จะทำให้เด็กไม่ต้องเสี่ยง complication จากการผ่าตัด ไม่ว่าจะเป็นจากการดมยา หรือจากการผ่าตัด
และการฝื้นตัวก็ไวกว่า