Wellcome to EBM group

ยินดีต้อนรับน้องๆทุกคนค่ะ ขอให้มีความสุขและสนุกกับการเรียนEvidence Based Medicine ของภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชนโรงพยาบาลหาดใหญ่


Staffs


05/07/2010

CASE II นศพ.ธัชพันธุ์ อึงรัตนากร

PP : ผู้ป่วยเด็กหญิง อายุ 1 ปี 6 เดือน ภูมิลำเนาจังหวัดสงขลา
CC : หายใจเหนื่อย 2 วันก่อนมาโรงพยาบาล
PI : 1 สัปดาห์ก่อน มีไข้ต่ำๆ ไอมีเสมหะ น้ำมูกใส ไม่หอบ ไม่ซึม 2 วันก่อนมาโรงพยาล ไม่มีไข้ แต่เริ่มหายใจแรง ดูดนมแล้วเหนื่อย กินได้ลดลง อาเจียน งอแง ปัสสาวะลดลง อุจจาระปกติ
PH : เป็นบุตรคนที่ 2 คลอดครอบกำหนด BW 3,000 กรัม แข็งแรงดีมาตลอด
วัคซีนครบตามเกณฑ์, พัฒนาการ เดินคล่อง พูดเป็นคำๆ
FH : ทุกคนแข็งแรงดี ไม่มีโรคประจำตัว
PE : BT 37 °C, PR 150/min regular rhythm, RR 50/min. BP 85/50 (แขนขวา), BW 11 kg, Ht 80 cm
-GA : looked pale, dyspnea, no cyanosis, capillar refill 3 sec
-CVS : active precordium, normal chest contour, PMI at fifth ICS 1 cm lateral to MCL, normal S1S2 and S3 gallop, no murmur
-Lung : equal breath sound, fine crepitation both lungs
-Abdomen : no distension, liver 3 cm below RCM, liver span 14 cm, spleen bot palpable
-Extremities : cold of distal extremities

-Other : WNL
Lab : EKG : sinus tachycardia, generalized low voltage QRS complex with ST-T change
CXR : cardiomegaly with pulmonary congestion
Cardiac enzymes : increase CK, CK-MB and troponin-T
Echocardiogram : cardiac chamber enlargement and impaired LV function
Dx : 1. Congestive heart failure 2. Acute myocarditis
Question of Diagnosis
EKG มีความแม่นยำในการวินิจฉัย Acute myocarditis เพียงใดเมื่อเทียบกับ endomyocardial biopsy
P : Childhood patiens and CHF without murmur
I : EKG
C : Endomyocardial biopsy
O : ความแม่นยำในการวินิจฉัย Acute myocarditis

1 comment:

ชนิดา ศักดิ์เพชร said...

เป็นคำถามที่น่าสนใจมากค่ะ ในเรื่องความแม่นยำของ EKG เพราะการทำ EKG เป็นที่นิยมใช้เ โดยป็นส่วนหนึ่งในการวินิจฉัยโรคหัวใจต่างๆ, ไม่ invasive ราคาถูก