Wellcome to EBM group

ยินดีต้อนรับน้องๆทุกคนค่ะ ขอให้มีความสุขและสนุกกับการเรียนEvidence Based Medicine ของภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชนโรงพยาบาลหาดใหญ่


Staffs


28/06/2009

assingment 1 diagnosis โดย นศพ. ชนิดา เพ็ชศรี

PP : หญิงไทยคู่ อายุ 45 ปี G2P1 ภูมิลำเนา อ. ควนเนียง จ. สงขลา
CC : มาฝากครรภ์ตามนัด
PI : G2P1 GA 18 สัปดาห์ มาฝากครรภ์ ครั้งที่ 3 ฝากครั้งแรกเมื่อ อายุครรภ์ 10 สัปดาห์
ลูดดิ้นดี ไม่มีอาการคลื่นใส้อาเจียน เวียนศีรษะ มารดาสุขภาพแข็งแรงดี ผลเลือดปกติ
ลูกคนแรก เพศชาย อายุ 12 ปี ปกติดี สุขภาพแข็งแรง คลอดปกติ
PH : ปฏิเสธประวัติโรคประจำตัว
ปฏิเสธประวัติแพ้ยาแพ้อาหาร
OB-GYN: ปฏิเสธประวัติผ่าตัด
ปฏิเสธประวัติโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
มีประวัติลูกของพี่สาว เป็น Down Syndrome
LMP 14 กพ. 2552
ประจำเดือนมาสม่ำเสมอ interval 28 day, duration 5 day, 3 pad/day
PE : V/S BT 36.5C, BP 120/80 mmHg , PR 75/min ,RR 20/min
GA : good conciousness
HEENT : not pale, no jaundice
Heart&Lungs: normal
Abdomen : fundal high 2/3>PS , FHS 140/min, Vx, OR
not tender ,active bowel sound
Extremity : no pitting edema, no skin lesion


คำถาม : การตรวจปัสสาวะที่มีสารHyperglycosylated HCG ของหญิงตั้งครรภ์เพื่อวินิจฉัยDown Syndrome มีความแม่นยำเพียงใด
P : หญิงตั้งครรภ์ อายุ > 35 ปี
I : การตรวจหาสารHyperglycosylated HCGในปัสสาวะ
C : Amniocentesis
O : ความสามารถในการวินิจฉัย Down Syndrome

5 comments:

ไพรัช ศิริกุล said...

ถ้าทำได้จริงดีมากเลย เพราะตรวจจากปัสสาวะไม่มีความเสี่ยงต่อการตรวจ

นศพ.วิรยุทธ สนธิเมือง said...

เป็นเรื่องที่น่าสนใจมาก
เพราะเป็นการตรวจที่ไม่อันตรายต่ผู้ป่วย

zaq said...

ohhh chanada!!!. That's a veryy good idea. if it can possibly do,it will change the world of downsyndrome and elicate this didease from our wolrd. Hope you successfull.

Rerkchai 4825119 said...

หาข้อมูลได้ลึกซึ้งดีครับ
ตั้ง PICO ได้ชัดเจน
เป็นเรื่องที่น่าสนใจ
ผลออกมาอย่างไรแจ้งให้ทราบด้วยนะ
อยากรู้ว่าใช้จริงได้ป่าว

รัตติพร said...

ทำไม ต้องจริงจังกันด้วยอ่ะ

เรื่องดีนะ

รพ หาดใหญ่มใช้ไหมมมอ่ะ