Wellcome to EBM group

ยินดีต้อนรับน้องๆทุกคนค่ะ ขอให้มีความสุขและสนุกกับการเรียนEvidence Based Medicine ของภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชนโรงพยาบาลหาดใหญ่


Staffs


04/07/2008

Therapy : นศพ.จุรีรัตน์ จันทรัตน์

Case ผู้ป่วยหญิงอายุ 24 ปี

CC ปวดท้อง 3 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล

PI G3P2 , GA 32+1 Weeks
3 ชั่วโมง ก่อนมาโรงพยาบาล รู้สึกมีอาการปวดท้องบีบๆ บริเวณยอดมดลูก ปวดเป็นพักๆ ปวดอยู่ประมาณ 1 นาที แล้วดีขึ้น อีกประมาณ 4-5 นาที ต่อมารู้สึกปวดซ้ำอีก มีมูกเลือดออกจากช่องคลอดบริมาณไม่มาก
ลูกดิ้นดี ไม่มีน้ำเดิน ไม่มีไข้ ปัสสาวะ อุจจาระปกติดี

PH ปฏิเสธโรคประจำตัว
ปฏิเสธประวัติการใช้ยาอื่นๆ นอกจากยาบำรุงเลือดขณะตั้งครรภ์
ปฏิเสธประวัติแพ้ยาแพ้อาหาร
ปฏิเสธประวัติสูบบุหรี่และดื่มสุรา

Family history ปฏิเสธประวัติโรคพันธุกรรมในครอบครัว
ปฏิเสธประวัติการตายคลอดของสมาชิกในครอบครัว
ปฏิเสธประวัติโรคติดต่อภายใจครอบครัว

PE
Vital signs : stable
General appearance : Good conciousness
HEENT : Normal
Heart & Lung : Normal
Abdomen : Fundal height ; 3/4 > umbilicus
Fetal position ; OR , FHR 146 /minute
Uterine contraction ; Duration ~1 /minute , Interval ~4-5 /minute
Extremities : No pitting edema , No skin lesion
PV : Cervix dilate ; 2 cm.
Effacement ; 80%
Membrane ; Intact
Station ; -2
Position ; Vertex

Diagnosis : Preterm labour
Treatment : Expectant management (Tocolytic drug : Bricanyl , Steroid : Dexamethasone)

อยากทราบถึงประสิทธิภาพของยา Bricanyl เทียบกับ Nifedipine ในการ expectant management ผู้ป่วย preterm labor

2 comments:

มัลลิกา วงศ์ชนะ said...

จากที่เคยอ่านในหนังสือ กล่าวไว้ว่า มีรายงานพบว่า nifedipine ได้ผลใกล้เคียงกับ ritodine ซึ่งอยู่ในกลุ่มเดียวกับ Bricanyl
Bricanyl นั้น FDA ยอมรับ ส่วนnifedipine นั้นในอังกฤษจะไม่ค่อยใช้กัน
แต่ในช่วงหลังๆ มีรายงานพบว่า เด็กทารกที่คลอดจากมารดาที่ preterm labour ที่ได้ bricanyl นั้น baby's brain more susceptible to injury from pesticides และ cognitive dificit ซึ่งผลในหนูทดลอง ก็พบว่ามีผลต่อ learning และ memory
ประเด็นที่จุรีรัตน์ตั้ง น่าสนใจ เพราะในประเทศไทยเองแต่โรงพยาบาลก็ใช้ยาไม่เหมือนกัน อย่างในรพ.หาดใหญ่จะใช้ bricanyl ส่วน มอ.จะใช้ nifedipine

poii said...

ตกลงว่าผลของ tocolytic ของทั้ง Bricanyl และ nifedipine นั้นได้ผลประมาณเดียวกัน แต่ว่า nifedipine จะมีผลข้างเคียงต่อ FHR น้อยกว่า

จากInternational Journal of Gynecology & Obstetrics , Volume 100 , Issue 1 , Pages 65 - 68
L . Mawaldi , P . Duminy , H . Tamim

CONCLUSION: Terbutaline and nifedipine appear to be equally effective in their tocolytic action. However, nifedipine did have the advantage of ease of administration. It also had significantly less effect on the fetal heart rate.

โอเคป่ะ