นศพ.สิริอนงค์ สิทธิพงษ์
ปัญหาในการรักษา
ผู้ป่วย เด็กชายไทย อายุ 8 เดือน มีไข้สูง 3 วัน ร่วมกับแขน ขา กระตุก เกร็ง ไม่รู้สึกตัว 2 ครั้งก่อนมาโรงพยาบาล นานประมาณ 2 นาที หยุดชักเอง หลังจากนั้นเด็กซึมลงมาก กินนมได้น้อยลง มารดาจึงรีบนำส่งโรงพยาบาล
PH: ไม่เคยชักมาก่อน
well child care
birth history:คลอดที่โรงพยาบาลหาดใหญ่ คลอดครบกำหนด น้ำหนักแรกคลอด 2800 gm กลับบ้านพร้อมแม่
vaccination: ครบ
nutrition:กินนมแม่ กินข้าวต้ม 2 มื้อ ใส่ผัก เนื้อสัตว์
development:นั่งได้มั่นคง เริ่มคลาน หยิบของชิ้นเล็กได้ เรียกแล้วหัน มีเสียงอ้อแอ้ จำหน้าพ่อแม่ได้
ตรวจร่างกาย
BT 39.5 C RR 40/min PR 120/min
Mild injected pharynx, anterior fontanel :tense
Neurological exam : drowsiness,pupils 3 mm. both eyes react to light
Motor: movement against gravity all by pain stimulation
Meningeal sign:Bruzinski’s sign positive
BBK:dorsiflexion both
ผู้ป่วยได้รับการตรวจน้ำไขสันหลังได้ผลดังนี้
CSF:WBC 210cell/cu.mm. (PMN50%, L 50%)
Protein 80 mg/dl sugar 20 mg/dl(blood sugar 90 mg/dl)
Diagnosis : bacterial meningitis
Treatment : cefotaxine
ใน case นี้จะให้ dexamethasone ในการรักษาร่วมด้วยหรือไม่
1 comment:
จากการศึกษา พบว่าในผู้ป่วยเด็กที่เป็น meningitis จากเชื้อ H.influenzae type b พบว่าการให้ dexamethasone ก่อนให้ antibiotic หรืออย่างน้อยให้พร้อมกับantibiotic สามารถยับยั้งการหลั่ง mediator ต่างๆ เเล้วทำให้การอักเสบของเยื่อหุ้มสมองลดลง สามารถลด morbidity & mortality ได้ เช่น ลด cerebral edema, ลด intracranial pressure,ลดการทำลายสมอง ทำให้มีความพิการทางระบบประสาทเเละอาการ hearing loss ลดลง ขนาดที่ใช้ คือ 0.15 mg/kg q 6 hr เป็นเวลา 4 วัน การศึกษาต่อมาพบว่าขนาด 0.4 mg/kg q 12 hr เป็นเวลา 2วัน ก็ได้ผลเช่นเดียวกัน ในเรื่อง side effectของการใช้ dexamethasoneพบว่าเพิ่ม incidence การเกิด GI bleeding โดยจะเพิ่มมากขึ้นถ้าใช้dexamethasone เป็นเวลานาน ดังนั้นจึงเเนะนำให้ใช้เป็นเวลา 2 วันดีกว่า
ในบาง paper ซึ่งไปศึกษาในประเทศกำลังพัฒนา พบว่าการให้ dexamethasone ไม่มีประโยชน์ ค่าที่ได้ ไม่ significance (คร่อม 1) อาจจะเนื่องจากกลุ่มประชากรต่างกันทั้งอายุ ควารุนเเรงของอาการ ชนิดของเชื้อ เป้นต้น
ส่วนbacterial meningitis ชนิด s. pneumonia มีการศึกษาพบว่า สามารถลดการเกิด neurological deficit & hearing loss เเต่ข้อมุลยังไม่เพียงพอนักที่จะสรุปให้ใช้ในปัจจุบัน ส่วนเชื้อชนิดอื่นๆ ยังไม่มีรายงานการศึกษามากพอว่าสามรถลดmorbidity & mortality ได้
-Adjuvant glycerol and/or dexamethsone to improve the out come of childhood bacterial meningitis :a prospective ,
randomized,double-blind,placebo-controlled trial,CID2007:45(15 NOV)
-Dexamethasone as adjunctive therapy in bacterial meningitis. A meta-analysis of randomized clinical trials since 1988,Vol. 278 No. 11, September 17, 1997
Post a Comment