Wellcome to EBM group

ยินดีต้อนรับน้องๆทุกคนค่ะ ขอให้มีความสุขและสนุกกับการเรียนEvidence Based Medicine ของภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชนโรงพยาบาลหาดใหญ่


Staffs


04/07/2008

Diagnosis นศพ.กุลธิดา เหลืองวัฒนพงศ์

ผู้ป่วยเด็กชายไทย อายุ 10 ปี

CC:บวมทั่วตัวมา 3 วัน

PI:2 wks PTA มีอาการไอ เจ็บคอ มีไข้ ไม่มีน้ำมูก ไปพบแพทย์ได้ยากลับมากินที่บ้าน อาการดีขึ้น
3 days PTA มารดาสังเกตว่าหน้าบวม และหนังตาบวม มีอาการบวมมากหลังตื่นนอน ไม่มีอาการเหนื่อยหอบ ปัสสาวะปกติ ไม่มีฟอง สีเหลืองใส ไม่เข้มขึ้น มารดาสังเกตว่ามีอาการบวมมากขึ้นจึงพามาโรงพยาบาล

PH:-ปฏิเสธประวัติโรคประจำตัวใดๆ
-ปฏิเสธประวัติแพ้ยาหรือแพ้อาหาร
-คลอดปกติที่โรงพยาบาลหาดใหญ่ น้ำหนักแรกคลอด 2800 g กลับบ้านพร้อมมารดาภายใน 2 วัน
-กินข้าว 3 มื้อ , นม 1 กล่องต่อวัน
-รับวัคซีนครบตามนัดทุกครั้ง รับครั้งสุดท้ายเมื่ออายุ 6 ปี
-ไม่เคยมีอาการเช่นนี้มาก่อน

PE:V/S-BT 37.5 ,BP 130/90 ,RR 30 ,PR 100
GA-good consciousness,well cooperated
HEENT-no pale conjunctivae ,no ictericsclerae
-normal TM , no bulging
-pharynx not injected , tonsil not enlarged
H&L-WNL
Abd.-WNL
Ext.-impetigo all extremities

LABs:-ASO titer 80
-B1C 10
-UA:hematuria

Dx : APSGN

Problem : การใช้ ASO titer มีความจำเพาะต่อการวินิจฉัยโรค APSGN มากเท่าไร

1 comment:

Kewalin said...

ASO titer จะสูงขึ้นพบได้ 80% ในผู้ป่วยที่ติดเชื้อที่คอ(ประวัติ เจ็บคอก่อนบวม)และพบได้ 50%ในผู้ป่วยที่ติดเชื้อที่ผิวหนัง(มาด้วย มี impetigoตามผิวหนัง)และส่วนใหญ่จะพบ ASO สูงขึ้นประมาณวันที่ 10-14หลังมีการติดเชื้อที่ลำคอ
ดังนั้นหากพบ ASO สูงขึ้นก็ทำให้มีหลักฐานแสดงถึงการติดเชื้อstreptococci มาก่อน สนับสนุนว่าเป็นโรคAPSGNมากขึ้น ซึ่งเป็นเกณฑ์ในการวินิจฉัยอันหนึ่ง
แต่หากASOไม่ขึ้น ก็ไม่ได้หมายความว่าจะไม่มีการติดเชื้อกลุ่มนี้ ซึ่งก็มีวิธีการตรวจ Ab วิธีอื่นๆอีก เช่น anti-DNase B ซึ่งให้ผลบวกมากกว่าประมาณ95% ในผู้ป่วยติดเชื้อที่ลำคอ และ 80%ในผู้ป่วยติดเชื้อที่ผิวหนัง

เท่าที่เคยอ่านมานะจ้ะจากหนังสือกุมารแหละ
พยายามจะหาEBMให้แล้วแต่ว่าเค้าหามะเจอและกำลังดูคุณหนูอลิซอยู่ด้วย เหอๆ