Wellcome to EBM group

ยินดีต้อนรับน้องๆทุกคนค่ะ ขอให้มีความสุขและสนุกกับการเรียนEvidence Based Medicine ของภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชนโรงพยาบาลหาดใหญ่


Staffs


04/07/2008

ส่งงาน assignment1 diagnosis นศพ.ปิยาภรณ์ เพชรชู

case: ผู้ป่วยหญิง อายุ 86 ปี
CC: ปวดท้องมา 2 วันก่อนมารพ.
PI: 10 days PTA มีอาการปวดท้องใต้ชายโครงขวาด้านหน้า ปวดร้าวไปใต้ชายโครงขวาด้านหลัง ปวดแบบบีบๆ จุกๆ เป้นๆหายๆ เวลาหายไม่ได้หายเป็นปกติ เวลาหายใจเข้าลึกๆปวดมากขึ้น กลางคืนต้องตื่นมาเพราะปวดท้อง การปวดไม่สัมพันธ์กับมื้ออาหาร เวลาเปลี่ยนท่าทางไม่ได้ปวดมากขึ้น เวลาปวดท้องกินยาพาราอาการไม่ดีขึ้น
5 days PTA มีไข้แต่ไม่หนาวสั่น เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียนประมาณ 3 ครั้งเป็นน้ำปนเศษอาหารเล็กน้อย หลังคลื่นไส้อาเจียนไม่ได้มีอาการปวดท้องมากขึ้น ถ่ายอุจจาระปกติ ถ่ายปัสสาวะปกติ ไม่แสบขัด สีปัสสาวะไม่เข้มขึ้น
2 days PTA มีไข้ ปวดท้องมากขึ้นจากวันแรก ปวดชายโครงขวาด้านหน้าร้าวไปชายโครงขวาด้านหลัง ไม่ถ่ายอุจจาระ มีผายลม ไม่เหลือง
PH: -u/d HT
- ไม่เคยเป็นโรคกระเพาะอาหารอักเสบ
- no drug/food allergy
- ไม่มีประวัติกินยาลูกกลอน,ยาแก้ปวด
- ไม่มีประวัติดื่มเหล้าสูบบุหรี่
PE: GA: good consciousness
vital signs : fever
HEENT : not pale ,no icteric sclera
heart and lung : WNL
abdomen : moderate tenderness at RUQ, Murphy's sign positive , no garding , rebounding tenderness negative, no scar, no mass, no hepatosplenomegaly
PR: no melena,nomass
CVA: not tender
Neurological exam: normal
LAB
- CBC -> no anemia, no infection,platelets normal
- UA -> normal no infection
- LET -> normal ไม่มีภาวะ hepatitis
- BUN,Cr-> normal
- คนนี้ส่ง u/s พบว่ามี thickening of the gallbladder wall , acoustic shadows
DDX : - acute cholecystitis
- liver abscess
- peptic ulcer
- pyelonephritis
- carcinoma of colon
- hepatoma
Dx : acute cholecystitis

Question : อยากรู้ว่าถ้าเกิดว่าคนไข้มาแบบ case นี้ จากอาการทาง clinical แล้วก็ ตรวจร่างกายซึ่งเข้าได้แล้วกับ acute cholecystitis เราจำเป็นต้องส่งตรวจ ultrasound อีกรึป่าว

2 comments:

Katika said...
This comment has been removed by the author.
Katika said...

ที่ลองไปอ่านๆ ultrasound นิยมใช้กันมากในการตรวจถุงน้ำดีและท่อน้ำดี เพราะว่าจะต้องแยก colicky pain จำพวก cholecystitis กับ cholangitis หรือโรคตับออกจากกัน
จากแนวทาง (guidelines) นี้ใชสําหรับการวินิจฉัยผูปวยที่มาดวยไขสูงเฉียบพลันรวมกับดีซาน ซึ่ึ่งเปนแนวทางที่เปนขอตกลงของคณะกรรมการซึ่งประกอบดวยอายุรแพทย
สาขาโรคติดเชื้ออายุรแพทยสาขาโรคทางเดินอาหารอายุรแพทยสาขาโรค
ทางโลหิตวิทยา และศัลยแพทยทั่วไป
กรณีที่ตรวจรางกายมี fever ,RUQ tenderness ใหดําเนินการตรวจดวย USG ของตับและทางเดินน้ําดีตอไป สําหรับการตรวจทางคลื่นเสียงความถี่สูง (ultrasonography, USG) นั้นถือเปนการตรวจทางหองปฏิบัติการที่ใหประโยชนมากในการวินิจฉัย
ผูปวยที่มาดวยไขเฉียบพลันรวมกับดีซาน
โดยเฉพาะถาตรวจรางกายพบ RUQ tenderness รวมดวย ถือเปนการตรวจที่สามารถทําไดอยางรวดเร็ว คาใชจายไมมาก และ non-invasive diagnostic accuracy นั้นคือขึ้นอยูกับวาอาการและอาการแสดงทางคลินิกสงสัยโรคอะไร อยางไรก็ตามความไวอยูในระหวางรอยละ 55-91 เทานั้น
เนื่องจากอาจไมพบการโปงขยายของทางเดินน้ําดีในตับในการอุดกั้น
ระยะแรก หรือที่มีภาวะตับแข็งรวม
ดวย นอกจากนั้นในผูปวยหลังผาตัดถุงน้ําดีใหมๆ อาจพบภาวะการโปงขยายของทางเดินน้ําดีโดยปราศจากการอุด
กั้นก็ได ถาสงสัยถุงน้ําดีอักเสบเฉียบพลันรวมกับนิ่วในถุงน้ําดีพบวาการตรวจโดย USG ถือเปนการตรวจทางหอง
ปฏิบัติการที่ใหความไวและความจําเพาะสูงมาก

แนวทางการวินิจฉัยผูปวยที่มี RUQ tenderness
ตองไดรับการตรวจ USG ของตับและทางเดินน้ําดีทันทีเพื่อวินิจฉัยแยกโรคถุงน้ําดีอักเสบเฉียบพลัน
ออกไป(ผนังถุงน้ําดีหนามากกวา 3 มม.) รวมกับนิ่วในถุงน้ําดี ก็ใหการรักษาตอไป ถาพบกอนในตับ (space occupying
lesion, SOL) ก็แบงเปนฝในตับก็ใหการรักษา (ดูแนวทางการรักษาฝในตับ) หรือถาเปนกอนทึบ (solid) ก็ควรทําการ
วินิจฉัยทางหองปฏิบัติการตอไป เชน การเจาะดวยเข็ม (fine needle aspiration) เพื่อสงพยาธิวิทยา หรือถาพบการ
อุดกั้นของทางเดินน้ําดีก็ใหการวินิจฉัยทอน้ําดีอักเสบ (cholangitis) ซึ่งก็ตองตรวจหาสาเหตุตอไปจากการทํา CT
และ/หรือ ERCP ขึ้นกับขอบงชี้ ความพรอมของบุคลากรและเครื่องมือ ในกรณีที่ไมพบความผิดปรกติจากการทํา
USG ควรพิจารณาดูผลเลือดในแงการทํางานของตับตอไป

ตอนนี้รู้แค่นี้แหละ เดี๋ยวค่อยไปค้นคว้าเพิ่มมาให้อีกนะ คิดว่าน่าจะลองศึกษาเกี่ยวกับ murphy's sign
ดูนะ ว่ามี sensitivity specificity มีเท่าไหร่
แต่ก็มีการศึกษาเปรียบเทียบผลระหว่าง USG กับ HIDA ในการวินิจฉัย cholecystitis ด้วยนะ